ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
สึนามิ ปี 2547
แผ่นดินไหว
บรรทัด 39:
แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ (ขนาด[[แผ่นดินไหวเมกะทรัสต์|เมกะทรัสต์]]) ครั้งอื่น เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1868 ใน[[ประเทศเปรู]] (แผ่นเปลือกโลกนาสกาและแผ่นอเมริกาใต้) ค.ศ. 1827 ใน[[โคลอมเบีย]] (แผ่นนาสกาและแผ่นอเมริกาใต้) ค.ศ. 1812 ใน[[เวเนซูเอลา]] (แผ่นแคริบเบียนและแผ่นอเมริกาใต้) และแผ่นดินไหวคาสคาเดีย ค.ศ. 1700 ทางตะวันตกเฉียงเหนือของอเมริกา (แผ่นฮวนเดอฟูกาและ[[แผ่นอเมริกาเหนือ]]) ทั้งหมดที่กล่าวมานี้คาดว่ามีความรุนแรงมากกว่าแมกนิจูด 9 แต่ไม่มีตัวเลขชัดเจนถึงขนาดที่แท้จริงในขณะนั้น
 
การเกิดแผ่นดินไหวครั้งนี้เกิดจากแผ่นเปลือกโลก อินโดออสเตรียมุดใต้แผ่นยูเรเชีย ซึ่งแผ่นอินโดออสเตีรยมีการเคลื่อนเข้าไปในแผ่นยูเรเชียทำให้เกิดแนวปะทะยาวตั้งแต่หมู่เกาะนิโคบาร์(อินเดีย)ยาวลงไปถึงเกาะสุมาตรา(อินโดนีเซีย) แผ่นดินไหวครั้งนี้เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาดใหญ่และรุนแรงมาก โดยจุดศูนย์กลางอยู่ใกล้กับเกาะสุมาตรา(อินโดนีเซีย)เมือง[[บันดาอาเจะฮ์]] ขนาด9.1-9.3แมกนิจูด(lX) และสร้างรอยแตกขึ้นไปถึงหมูเกาะนิโคบาร์ และประเทศพม่า มีขนาดการทำร้ายทำลายร้าง14001,400-16001,600 ก.ม.จากจุดศูนย์กลาง กินเวลา8.3-10นาทีเป็นแผ่นดินไหวที่มีเวลามากที่สุด เมื่อมีขนาดถึง9.1-9.3แมกนิจูด และเกิดตรงแนวมุดตัวของแผ่นเปลือกโลกทำให้แผ่นเปลือกโลกยุบตัวออกมา (ถ้าสังเกต แนวปะทะของรอยต่อแผ่นเปลือกโลกไม่เท่ากันโดยแผ่นดินไหวเมื่อปี2547 แผ่นเปลือกโลกยูเรเชียขยับออกมาเป็นระยะทางกว่า10001,000ก.ม.) ซึ่งการที่แผ่นยูเชียที่ถูกแผ่นอินโดออสเตรียมุดลงไปด้านล้างนั้นทำให้เกิดแรงบีบอัดอย่างมหาศาลโดยแผ่นอินโดนีเชียเคลื่อนมุดเข้าแผ่นยูเรเชียตลอด ทำไห้สะสมพลังงานมายาวนานอาจถึง100-10001,000ปีซึ่งช้ามาก และปล่อยพลังงานออกมาในรูปแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ และมีสึนามิตามมาบ่อยครั้ง แต่ครั้งนี้แปลกมากที่สึนามิมีความรุนแรงมากถึงขนาดฆ่าคน280000280,000คน ประเทศรอบมหาสมุทรอินเดียหนักสุดคือ อินโดนีเซียโดยเฉพาะเมืองบันดาอาเจะฮ์ได้รับผลกระทบมากที่สุด(สึนามิสูง30-35เมตร) และสึนามิยังเดินทางมายังไทยและอีกฝั่งเดินทางไปหาศรีลังกา อินเดีย มัลดีฟ ทวีปแอฟริกา ซึ่งสึนามิที่เกิดจากแผ่นไหวมีอัตตราการเคลื่อนที่ที่เร็วมากประมาณ600-800 ก.ม./ช.ม. และสึนามิส่วนหนึ่งยังเดินทางข้ามมหาสมุทรอื่นผ่านประเทศแอฟริกาใต้
 
ข้อสังเกตแผ่นดินไหวที่สามารถก่อให้เกิดสึนามิและการทำลายล้างสูง ส่วนมากมักจะเกิดอยู่ในมหาสมุทรและมีขนาดใหญ่ถึง8.0-9.0+แมกนิจูดและชอบเกิดอยู่บริเวณแนวรอยต่อแผ่นเปลือกโลกและมักเกิดไม่ลึกมาก ซึ่งตรงกับแผ่นดินไหวที่ชีลี9.4-9.6แมกนิจูด(แผ่นนาสคามุดใต้แผ่นอเมริกาใต้) แผ่นดินไหวที่สหรัฐขนาด9.2แมกนิจูด (แผ่นแปปซิฟิกมุดใต้แผ่นอเมริกาเหนือ แผ่นดินไหวที่ประเทศอินโดนีเซียขนาด 9.1-9.3แมกนิจูด(แผ่นอินโดออสเตรียมุดใต้แผ่นยูเรเชีย) แผ่นดินไหวที่ประเทศญี่ปุ่นขนาด9.0-9.1แมกนิจูด(แผ่นแปซิฟิกมุดใต้แผ่น ยูเรเชีย) แผ่นดินไหวที่ประเทศรัสเซียขนาด9.0แมกนิจูด(แผ่นแปซิฟิกมุดใต้แผ่น แผ่นยูเรเชีย) ซึ่งแผ่นดินไหวที่กล่าวข้างต้น ก่อให้เกิดสึนามิทั้งสิ้น และทุกครั้งที่เกิดแผ่นดินไหวขนาด9.0แมกนิจูด จะสร้างความเสียหายระดับสูงทั้งนั้นเช่น ญี่ปุ่นเมื่อปี 2554 และแผ่นดินไหวเมื่อปี2547
 
แผ่นดินไหวขนาด8.7แมกนิจูดเมื่อปี2555 ที่มหาสมุทรอินเดียจุดศุนย์กลางใกล้กับเกาสุมาตราที่เป็นที่ตกตื่นกันในบริเวณเสี่ยงภัยซึ่งอาจซํ้ารอยแผ่นดินไหวเมื่อปีพ.ศ.2547 ต่อมาพบว่าเกิดสึนามิขนาดเล็กข้อสังเกตคือว่า จริงอยู่ว่าแผ่นดินไหวนี้มีขนาดใหญ่8.7แมกนิจูดซึ่งก่อให้เกิดสึนามิขนาดใหญ่ได้ แต่แผ่นดินไหวครั้งนี้ไม่เกิดบริเวณแนวรอยต่อแผ่นเปลือกโลก ซึ่งไม่ได้หมายความว่าจะไม่เกิดสึนามิ แต่โอกาศจะเกิดสึนามิขนาดใหญ่เท่าเมื่อปี2547มีโอกาศน้อยมาก เพราะรอยเลื่อนเคลื่อนที่ผ่านกัน นั้นมีการเคลื่อนที่ในแนวระนาบซึ่งแทนที่น้ำได้น้อย ซึ่งเช่น แผ่นดินไหวเมื่อปี2547และแผ่นดินไหวของญี่ปุ่นปี2554 เกิดบนแนวรอยต่อแผ่นเปลือกโลก2แผ่น ทำให้เกิดสึนามิที่มีขนาดใหญ่บางครั้งก็ไม่มีสึนามิตามมา
 
[[ไฟล์:2004 Indonesia Tsunami Complete.gif|300px|framed|ภาพเคลื่อนไหวของคลื่นสึนามิสุมาตรา (ที่มา: [[องค์การสมุทรศาสตร์และบรรยากาศแห่งชาติสหรัฐอเมริกา]]]]