ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การใช้อำนาจครอบงำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thucydides49 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Thucydides49 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ระบอบการปกครอง}}
'''การใช้อำนาจครอบงำ''' หรือ '''อธิกภาพ''' ในการเมืองระหว่างประเทศ ({{lang-en|hegemony}}; {{lang-gr|ἡγεμονία}} hēgemonía, "ความเป็นผู้นำ" หรือ "กฎ";<ref>''[[Oxford English Dictionary]]''</ref><ref>{{cite web|title=Hegemony|year=2014|work=Oxford Advanced American Dictionary|publisher=Dictionary.com, LLC|url=http://oaadonline.oxfordlearnersdictionaries.com/dictionary/hegemony}}</ref><ref>{{cite web|title= Hegemony|year= 2014|work=Merriam-Webster Online|publisher=Merriam-Webster, Inc.|url= http://www.merriam-webster.com/dictionary/hegemony|accessdate= 2016-02-24}}</ref><ref>{{cite web|title= Hegemony|year=2014|work= American Heritage Dictionary|publisher= Houghton Mifflin Harcourt |url= http://www.ahdictionary.com/word/search.html?q=hegemony&submit.x=22&submit.y=22 |accessdate= 2016-02-24}}</ref> มีที่มาจากคำกริยาภาษากรีกว่า ''ἡγέομαι'' แปลว่า "นำทางไป", "นำร่อง" หรือ "เป็นผู้นำในการรบ"<ref>Liddel & Scott, Greek-English Lexicon (New York, Harper & Brothers 1886), at 641</ref>) เป็น[[ระบอบการปกครอง]] และภาวะครอบงำแบบ[[จักรวรรดิ]]ทางอ้อม โดยผู้ใช้อำนาจเชิง "อธิกะ" (hegemon) คือรัฐผู้นำ ปกครองรัฐที่ด้อยอำนาจกว่าทางภูมิรัฐศาสตร์ ด้วยอำนาจโดยนัย และการข่มขู่คุกคามในด้านต่างๆ แต่มิใช่ด้วยกำลังทหารโดยตรง ในกรีซโบราณ (ศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล – คริสต์ศตวรรษที่ 6) อธิกภาพในการเมืองระหว่างประเทศ หมายถึง [[นครรัฐ]]หนึ่งมีภาวะครอบงำทางการเมือง–การทหารเหนืออีกนครรัฐหนึ่ง<ref>{{cite book |title=The Columbia Encyclopedia|edition=Fifth|year=1994|location=New York |publisher= Columbia University Press |isbn= 0-231-08098-0|editor-first=Barbara A.|editor-last=Chernow|editor2-first= George A.|editor2-last=Vallasi |page=1215}}</ref> The dominant state is known as the ''hegemon''.<ref>
 
ในศตวรรษที่ 19 ''อธิกภาพ'' หรือ ''การครอบงำเชิงอำนาจ'' เริ่มถูกใช้เพื่อสื่อความถึง "การก้าวขึ้นสู่อำนาจ หรือเข้ามาเป็นผู้นำในทางสังคมหรือวัฒนธรรม; สถานะที่โดดเด่นของกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งในสังคม หรือสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม" ต่อมาคำดังกล่าวได้ถูกใช้เพื่อสื่อความถึงอำนาจในทางภูมิรัฐศาสตร์ หรือวัฒนธรรม ที่ประเทศหนึ่งมีเหนือประเทศอื่น โดยแนวคิดเรื่อง ''อธิกภาพ'' ในยุคนี้เน้นไปที่การใช้อำนาจของประเทศมหาอำนาจยุโรป เหนือทวีป[[เอเชีย]] และ[[แอฟริกา]]<ref>{{cite book |editor1-first=Alan |editor1-last=Bullock |editor2-first= Stephen |editor2-last=Trombley |title=The New Fontana Dictionary of Modern Thought |edition=Third |year=1999 |location= London |publisher=HarperCollins |pages=387–388 |isbn= 0-00-255871-8}}</ref> โดยอาจไม่ใช่การเข้ายึดครองโดยตรง เช่นกรณีที่ประเทศฝรั่งเศสใช้อำนาจเชิงอธิกภาพ กดดันสยามให้สละอำนาจอธิปไตยในดินแดนบางส่วนของตน เพื่อที่ฝรั่งเศสจะได้เข้ามาปกครอง รวมถึงการปฏิเสธอำนาจทางวัฒนธรรมของสยามเหนือดินแดนลาวและกัมพูชา<ref>{{cite book|last= Ivarsson|first= Søren|title=Creating Laos: The Making of a Lao Space Between Indochina and Siam|publisher=Nias Press|year=2008|page=24-32|isbn=978-87-7694-023-2}}</ref> หรือกรณีที่เซอร์ จอห์น เบาว์ริง (ผู้ว่าราชการเกาะฮ่องกงในสมัยนั้น) กดดันให้สยาม และญี่ปุ่นเปิดการค้าเสรีกับอังกฤษ เพื่อให้จักรวรรดิ์อังกฤษสามารถเข้าถึงทรัพยากรที่ขาดแคลนในยุโรปได้