ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิทยา เลาหกุล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
}}
 
'''วิทยา เลาหกุล''' หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ '''โค้ชเฮง''' เกิดวันที่ ([[1 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2497]] — ) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ '''โค้ชเฮง''' เป็นอดีตผู้ฝึกสอน[[สโมสรฟุตบอลชลบุรี]]และ[[ทีมชาติไทย]] เคยเป็นกัปตัน[[ฟุตบอลทีมชาติไทย|ทีมชาติไทย]] และเป็นนักฟุตบอลคนแรกของไทย ที่เล่นในลีกยุโรป โดยเล่นให้กับ[[แฮร์ธา เบอร์ลิน]] ใน[[บุนเดสลีกา]] เคยทำหน้าที่คุมทีม[[ไกนาเร ทตโตะริ]] ในดิวิชัน 3 ของญี่ปุ่น ปัจจุบันกลับมาดำรงตำแหน่งประธานพัฒนาเทคนิคสโมสรฟุตบอล[[ชลบุรี เอฟซี]] และอุปนายก ฝ่ายเทคนิค สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย
 
ในช่วงที่วิทยาคุมทีมชาติไทยชุดเยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี ได้มีข่าวที่นักกีฬาสังสรรค์กิน[[ไวน์]]ในค่ายเก็บตัว ซึ่งทำให้เกิดการวิพากษ์วิจารณ์สูง{{อ้างอิง}}
บรรทัด 26:
== ประวัติ ==
วิทยา เลาหกุล เกิดวันที่ [[1 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2497]] ที่[[จังหวัดลำพูน]]มีพี่น้องทั้งหมด 14 คน ปี พ.ศ. 2516 ได้เข้าร่วมแข่งขันกีฬาเขตแห่งประเทศไทยครั้งที่ 7 ณ [[จังหวัดนครศรีธรรมราช]] ให้กับทีมฟุตบอลเขต5จังหวัดลำพูน จนได้รับเหรียญรางวัลชนะเลิศพร้อมตำแหน่งผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำรายการ
 
ต่อมาได้เริ่มเล่นฟุตบอลสโมสรให้กับ[[สโมสรฟุตบอลฮากกา]] และ[[สโมสรฟุตบอลราชประชา]] ติดทีมชาติชุดใหญ่ครั้งแรกในรายการเอเซี่ยนคัพเซียนคัพในวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2518 ซึ่งทีมชาติไทยชนะทีมชาติอินโดนีเซีย 3-1
 
ปี พ.ศ. 2519 วิทยา เลาหกุลได้เล่นฟุตบอลใน[[ควีนสคัพ (ฟุตบอล)|การแข่งขันฟุตบอลควีนสคัพ]] ซึ่งในครั้งนั้น[[สโมสรฟุตบอลยันมาร์ดีเซล]]จาก[[ประเทศญี่ปุ่น]]ได้มาแข่งขันและคว้าชัยชนะไป และได้ติดต่อซื้อตัววิทยา เลาหกุลจาก[[สโมสรฟุตบอลราชประชา]] ให้ไปเล่นกับสโมสร ชีวิตการค้าแข้งของวิทยา เลาหกุลที่ญี่ปุ่นถือว่าประสบความสำเร็จอย่างมาก เคยได้รับเลือกให้เป็นหนึ่งในนักฟุตบอลยอดเยี่ยมประจำฤดูกาลและเคยเป็นผู้ที่ทำประตูสูงสุดในถ้วย F.A.Cup ของญี่ปุ่นที่จำนวน 6 ประตู ยิงประตูในลีกของญี่ปุ่นได้ทั้งสิ้น 14 ประตู
เส้น 34 ⟶ 35:
ภายหลังจากที่ได้เลิกเล่นฟุตบอล ได้มาเป็นผู้ฝึกสอนให้กับ[[กัมบะ โอซะกะ|มัตซึชิตะ]]ในประเทศญี่ปุ่น (สโมสรกัมบะ โอซะกะปัจจุบัน) ซึ่งในในปี 2535 ทีมมัตซึชิตะได้ชนะเลิศควีนสคัพในประเทศไทย หลังจากนั้นได้คุมทีม [[สโมสรฟุตบอลธนาคารกรุงเทพ]]จนชนะเลิศการแข่งขัน[[ไทยลีก]] ซึ่งต่อมาได้คุม[[ฟุตบอลทีมชาติไทย|ทีมชาติไทย]]ชนะเลิศ[[ซีเกมส์]]ในปี 2540 และได้คุมทีม[[สโมสรฟุตบอลชลบุรี]]จากโปรลีกจนได้เข้ามาเล่น[[ไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก]]เป็นครั้งแรกของสโมสร
 
ปี พ.ศ. 2548 วิทยา เลาหกุลได้เคยเสนอตัวเข้ารับการชิงตำแหน่งนายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย แต่ไม่ได้รับการยอมรับจากสมาชิกที่ประชุมและไม่ได้รับเลือกตั้งให้เป็นนายกสมาคมในครั้งนี้ โดยตำแหน่งเป็นของ[[วิจิตร เกตุแก้ว]]ด้วยคะแนนเสียงจากสมาชิกในที่ประชุมอย่างท้วมท้น 118 ต่อ 16 คะแนน มีบัตรเสีย 1 ใบ
 
ปี พ.ศ. 2550 วิทยา เลาหกุลได้ลาออกจาก[[สโมสรฟุตบอลชลบุรี]]ทั้งที่เพิ่งพาทีมเลื่อนชั้นมาได้เพียงปีเดียว ก่อนย้ายไปคุมทีมโตโตริ ในลีกดิวิชัน 3 ของญี่ปุ่น พร้อมทั้งซื้อตัว[[อดุลย์ หละโสะ]]นักเตะไทยชุดซีเกมส์จาก[[สโมสรฟุตบอลชลบุรี]]ไปร่วมทีม
เส้น 56 ⟶ 57:
** [[ซีเกมส์]] (การแข่งขันฟุตบอล) ชนะเลิศ 1 สมัย: 2540
* [[สโมสรฟุตบอลธนาคารกรุงเทพ|ธนาคารกรุงเทพ]]
** [[ไทยพรีเมียร์ลีก]] ชนะเลิศ 1 สมัย: 2539, 2540
* [[สโมสรฟุตบอลชลบุรี|ชลบุรี เอฟซี]]
** [[ไทยพรีเมียร์ลีก]] รองชนะเลิศ 1 ครั้ง: 2554
เส้น 69 ⟶ 70:
* ชนะเลิศ : [[ควีนส์คัพ]]ที่ประเทศไทย ([[กัมบะ โอซะกะ|มัตซึชิตะ (กัมบะ โอซะกะ)]]) ปี 2535
* ชนะเลิศ : [[ไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก]] ฤดูกาล 2539 ([[สโมสรฟุตบอลธนาคารกรุงเทพ]])
* ชนะเลิศ : เหรียญทอง[[ซีเกมส์]] ครั้งที่ 19 ที่[[ประเทศอินโดนีเซีย]] ([[ทีมชาติไทยชุดซีเกมส์]]) ปี 2540
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==