ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความผันแปรได้ทางพันธุกรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับให้ดีขึ้น
บรรทัด 28:
ซึ่งเพิ่มความสนใจในเรื่องการแพทย์แบบปรับเฉพาะบุคคล (personalized medicine) โดยเนื่องกับ[[โครงการจีโนมมนุษย์]]
และความพยายามเพื่อสร้างแผนที่กำหนดขอบเขตความแตกต่างทางพันธุกรรมของมนุษย์ เช่น ในโครงการ International Hapmap
 
[[ไฟล์:HR in meiosis.svg | thumb | 150px |right | homologous recombination เป็นเหตุเกิดความผันแปรได้ทางพันธุกรรมที่สำคัญ]]
[[ไฟล์:Haploid, diploid ,triploid and tetraploid.svg |thumb |150px |right | polyploidy จะเพิ่มความผันแปรได้ทางพันธุกรรม]]
เส้น 44 ⟶ 43:
เพราะการแพร่กระจายช่วยให้โครมาทิดแตกออกในหลายรูปแบบ<ref name="LIN2003">{{cite journal | authors = Linhart, Yan; Janet Gehring | title = Genetic Variability and its Ecological Implications in the Clonal Plant Carex scopulurum Holm. In Colorado Tundra | journal = Arctic, Antarctic, and Alpine Research | issue = 35.4 | year = 2003 | pages = 429-433 | doi = 10.1657/1523-0430(2003)035[0429:GVAIEI]2.0.CO;2 | volume = 35 | issn = 1523-0430}}</ref>
-->
* [[การกลายพันธุ์]]จะเพิ่มความผันแปรได้ทางพันธุกรรมภายในกลุ่มประชากร และอาจมีผลบวก ผลลบ หรือผลเป็นกลาง ๆ ต่อ[[ความเหมาะสม]]ของสิ่งมีชีวิต<ref name="WIL1980">{{cite book | author = Wills, Christopher | title = Genetic Variability | location = NewYork | publisher = Oxford University Press | year = 1980}}</ref> ความผันแปรได้ทางพันธุกรรมการกลายพันธุ์สามารถกระจายไปทั่วกลุ่มประชากรโดยการคัดเลือกโดยธรรมชาติได้ ถ้าการกลายพันธุ์มันเพิ่มความเหมาะสมของสิ่งมีชีวิต หรือถ้าผลที่เป็นอันตรายของมันมีน้อยหรือมองไม่เห็น แต่กลุ่มประชากรและความผันแปรได้ทางพันธุกรรมของมันกลุ่มประชากรยิ่งเล็กเท่าไร การกลายพันธุ์ที่เป็นอันตรายและเป็นยีนด้อย/ซ่อนอยู่ ก็อาจปรากฏมากขึ้นเท่านั้น<ref name="WIL1980"/>
:ความเสียหายต่อ[[ดีเอ็นเอ]]เกิดบ่อยมาก โดยเฉลี่ย 60,000 ครั้งต่อวันต่อเซลล์ในมนุษย์ เนื่องจากกระบวนการ[[เมแทบอลิซึม]] หรือกระบวนการแยกสลายด้วยน้ำปกติตามธรรมชาติ แต่ความเสียหายโดยมากจะซ่อมได้อย่างถูกต้องแม่นยำด้วยกลไกการซ่อมดีเอ็นเอต่าง ๆ แต่ก็ยังมีความเสียหายที่เป็นการกลายพันธุ์อย่างถาวร
:ดูเหมือนว่า การกลายพันธุ์ที่เกิดบ่อยครั้งที่สุดมาจากการถ่ายแบบดีเอ็นเอที่มักผิดพลาด คือ translesion synthesis ซึ่งจะใช้หลังจากสายดีเอ็นเอที่เป็นแบบเกิดเสียหาย ยกตัวอย่างเช่น ใน[[ยีสต์]] การแทนที่หรือการลบเบสเดียวที่เกิดเองกว่า 60% น่าจะมีเหตุจากกระบวนการ translesion synthesis<ref>{{cite journal | authors = Kunz, BA; Ramachandran, K; Vonarx, EJ | title = DNA sequence analysis of spontaneous mutagenesis in Saccharomyces cerevisiae | journal = Genetics | volume = 148 | issue = 4 | pages = 1491-505 | date = 1998-04 | pmid = 9560369 | pmc = 1460101 }}</ref> แหล่งกำเนิดการกลายพันธุ์ที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งก็คือกระบวนการซ่อมดีเอ็นเอที่ไม่แม่นยำ ซึ่งก็คือ non-homologous end joining ซึ่งบ่อยครั้งใช้ซ่อมดีเอ็นเอที่หักทั้งสองเส้น<ref>{{cite journal | author = Huertas, P | title = DNA resection in eukaryotes: deciding how to fix the break | journal = Nat. Struct. Mol. Biol. | volume = 17 | issue = 1 | pages = 11-6 | date = 2010-01 | pmid = 20051983 | pmc = 2850169 | doi = 10.1038/nsmb.1710 }}</ref>
:ดังนั้น จึงดูเหมือนว่า ความเสียหายต่อดีเอ็นเอเป็นเหตุให้เกิดการกลายพันธุ์โดยมาก ไม่ว่าจะเป็นเพราะการถ่ายแบบที่มักผิดพลาด ความเสียหายในอดีต หรือการซ่อมความเสียหายแบบที่มักผิดพลาด
 
== ปัจจัยที่ลดความผันแปรได้ทางพันธุกรรม ==
มีเหตุหลายอย่างที่ลดความผันแปรได้ของยีนในกลุ่มประชากรหนึ่ง
* การเสียที่อยู่อาศัย รวมทั้ง
**การแบ่งซอยที่อยู่ (habitat fragmentation) ที่สร้างความไม่ต่อเนื่องกันของที่อยู่อาศัย ทำให้การผสมพันธุ์กันเป็นไปได้ยาก ซึ่งมีเหตุหลายอย่าง รวมทั้งเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาหรือที่มนุษย์สร้างขึ้น การแบ่งซอยที่อยู่ยังอาจช่วยให้[[การเปลี่ยนความถี่ยีนอย่างไม่เจาะจง]]ลด[[ความหลากหลายทางพันธุกรรม]]ของสิ่งมีชีวิตในพื้นที่ได้อีกด้วย
**[[การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ]]อย่างรุนแรง จะขับ[[สปีชีส์]]จากวิถีชีวิตหลัก (fundamental niche) และอาจลดขนาดกลุ่มประชากร และดังนั้น จึงลด[[ความแตกต่างทางพันธุกรรม]]
* การเกิด[[ปรากฏการณ์ผู้ก่อตั้ง]]ที่กลุ่มประชากรหนึ่งตั้งขึ้นโดยสิ่งมีชีวิตเพียงไม่กี่หน่วย