ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แม่น้ำอิรวดี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 93:
กว่าหก[[ศตวรรษ]]ที่แม่น้ำถูกใช้สำหรับการค้าขายและการขนส่ง แม่น้ำมีความสำคัญต่อ[[จักรวรรดิอังกฤษ]]หลังได้พม่าเข้ามาอยู่ในอาณานิคมได้มีการพัฒนาเครือข่ายคลอง[[ชลประทาน]] แม่น้ำยังคงมีความสำคัญในปัจจุบันเนื่องจากเป็นเส้นทางการจราจรและเป็นเส้นทางของสินค้าส่งออกจำนวนมาก ข้าวมีการผลิตในเขตดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิรวดีซึ่งมีการใช้น้ำจากแม่น้ำ
 
ในปีพ.ศ. 2550 รัฐบาลพม่าได้ลงนามในข้อตกลงกับบริษัทสัญชาติจีนในการก่อสร้างเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำจำนวนเจ็ดเขื่อน ซึ่งมีกำลังผลิตรวม 13,360 เมกะวัตต์ในแม่น้ำมะลิขา และ แม่น้ำเมขา รวมถึงเขื่อน มยิตโซน เขื่อนใหญ่ขนาด 6,000 เมกะวัตต์ บริเวณที่บรรจบกันของแม่น้ำทั้งสองแห่ง กำลังไฟฟ้าที่เกิดจากเขื่อนจะถูกส่งไปยังประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่โดยส่วนใหญ่จะถูกส่งไปยังประเทศจีน<ref>[http://www.burmalibrary.org/docs5/China_in_Burma-ERI.pdf ''China in Burma: The Increasing Investment of Chinese Multinational Corporations in Burma's Hydropower, Oil and Natural Gas and Mining Sectors''] (2008) [http://www.earthrights.org/ EarthRights International]. Retrieved 17 September 2009</ref> และมีเป้าหมายการส่งออกพลังงานไปยัง ประเทศไทย, อินเดีย และ บังคลาเทศ องค์กรด้านสิ่งแวดล้อมได้ยกความกังวลเกี่ยวกับผลกระทบต่อระบบนิเวศบนความหลากหลายทางชีวภาพของแม่น้ำ สัตว์ที่อาจได้รับผลกระทบได้แก่ [[โลมาอิรวดี]] และปลาฉลามในแม่น้ำอิรวดี ซึ่งเป็นสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ ปัจจุบันโครงการเขื่อนใหญ่ มยิตโซน ถูกระงับไว้เนื่องจากมีการประท้วงและผู้ไม่เห็นด้วยจำนวนมาก<ref>[http://www.nationtv.tv/main/content/foreign/378542209/ จีนยอมระงับเขื่อนในเมียนมาร์]</ref><ref>http://www.bangkokpost.com/news/special-reports/1180397/against-the-flow</ref>
 
==อ้างอิง==
บรรทัด 99:
 
[[หมวดหมู่:แม่น้ำในประเทศพม่า|อิรวดี]]
{{โครงภูมิศาสตร์}}