ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เนเมียวสีหบดี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Banklive (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Banklive (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 38:
 
=== เชียงใหม่ (2316) ===
ต้นปี พ.ศ. 2316 เนเมียวสีหบดีประจำอยู่ที่เชียงใหม่พร้อมกับกองทัพขนาดใหญ่พอสมควร พระเจ้ามังระต้องการให้เริ่มสงครามกับไทยอีกแต่ยังเกรงภัยคุกคามจากจีนทางเหนือ โดยก่อนหน้านี้เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 23122313 สงครามพม่าและจีนสิ้นสุดลงด้วยการพักรบซึ่งทั้งสองฝ่ายไม่พอใจนัก จีนยังคงทหารจำนวนมากไว้ที่ชายแดนเพื่อเตรียมทำศึกอีกครั้ง ขณะที่เชียงใหม่ เนเมียวสีหบดีเข้าไปพัวพันกับการเมืองท้องถิ่น ข้าหลวงพม่าคนใหม่ที่ [[แคว้นล้านนา]] กระทำทารุณต่อขุนนางท้องถิ่นจำนวนมาก เนเมียวสีหบดีแท้จริงแล้วอยู่ข้างเจ้าท้องถิ่น<ref>Phayare, p. 205</ref> [[พระเจ้ามังระ]]ตัดสินพระทัยขั้นสุดท้ายในการโจมตีไทยอีกหนหนึ่ง เนเมียวสีหบดีถูกเรียกตัวกลับ
 
=== ธนบุรี (2318-2319) ===
ปรากฏว่าขุนนางท้องถิ่นเปลี่ยนไปเข้ากับฝ่าย[[กรุงธนบุรี]] และขับไล่ข้าหลวงพม่าออกจากเชียงใหม่ด้วยความช่วยเหลือของ[[กรุงธนบุรี]]ในปี พ.ศ. 2317 [[พระเจ้ามังระ ]]ขณะพระนั้นพระองค์ประชวรอย่างหนักซึ่งกำลัง ก่อนเวลาจะพรากเอาชีวิตของพระองค์ไปนั้น ตอบสนองโดยได้มีบัญชาให้รุกรานกองทัพพม่าเปิดศึกกับ[[กรุงธนบุรี]] เนเมียวสีหบดีได้บัญชาการคุมการกองทัพด้านเหนืออีกครั้งหนึ่ง ภายใต้การบัญชาการของแม่ทัพ[[อะแซหวุ่นกี้]] ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2318 เนเมียวสีหบดียกกองทัพซึ่งตั้งอยู่ที่[[เชียงแสน]]ลงมายังเชียงใหม่ กองทัพของเขาสามารถยึดเชียงใหม่ได้แต่ก็ต้องเผชิญกับการต้านทานอย่างหนักของไทย<ref>{{cite book | title=Siam: The History of the Thais: From 1569 A.D. to 1824 A.D. | author=Ronald Bishop Smith | year=1966 | publisher=Decatur Press | volume=2}}</ref> เขายกกองทัพกลับไปเชียงแสนอีกครั้งหลังอะแซหวุ่นกี้สั่งยกเลิกการรุกรานหลัง[[พระเจ้ามังระ]]สวรรคตในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2319
 
== อ้างอิง ==