ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เภสัชอุตสาหกรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''เภสัชอุตสาหกรรม''' ({{lang-en|Pharmaceutical industry}}) เป็นสาขาหนึ่งของวิชาเภสัชกรรมเป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวเกี่ยวข้องกับการผลิตยาครั้งละปริมาณมากๆ ซึ่งจะแตกต่างจากการปรุงยาในร้านขายยาสมัยก่อนที่ปรุงยาเฉพาะคนไข้แต่ละคน ในอุตสาหกรรมยาจะผลิตยาออกมาหลาย[[รูปแบบขนาดยา]] (Dosage Forms) โดยแบ่งตามสถานะของยา แบ่งเป็น
#[[ยารูปแบบของเหลว]] (Liquid dosage form)
## [[ยาน้ำ]] (Mixtures)
## [[ยาฉีด]] (Injections)
# [[ยารูปแบบของแข็ง]] (Solid dosage form)
## [[ยาเม็ด]] (Tablets)
## [[ยาแคปซูล]] (Capsules)
## [[ยาผง]] (Powder)
# [[ยารูปแบบกึ่งแข็ง]](Semi-solid dosage form)
## [[ยาครีม]] (Cream)
## [[ยาขี้ผึ้ง]] (Ointment)
## [[ยาเจล]] (Gel)
## [[ยาสอด]] (Suppository)
 
== กระบวนการในการผลิตยาของแข็ง ==
กระบวนการผลิตยาจะแตกต่างกันไปตามชนิดรูปแบบของยาดังนี้
 
=== ยาน้ำ ===
ยาน้ำสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทดังนี้
# ประเภทเนื้อเดียว ได้แก่ [[สารละลาย]] (Solutions) ยาพวกนี้จะมีส่วนประกอบดังนี้ คือ
## [[ตัวยาสำคัญ]] (Active Ingredients) เช่น [[พาราเซตามอล|ยาพาราเซตามอล]] (Paracetamol) ฯลฯ
## ส่วนประกอบทำหน้าที่เป็น[[ตัวทำละลาย]] (Solvents) หรือทำให้[[เจือจาง]] (Diluents) หรือ[[น้ำกระสายยา]] (Vehicles)
## ส่วนประกอบทำหน้าที่เป็นสารแต่งสี แต่งกลิ่นและแต่งรส
## สารกันเสีย ( preservatives )
# ประเภทเนื้อผสม ได้แก่
##[[อิมัลชั่น]] (Emulsions) เป็นตำรับยาที่มีส่วนผสมที่ส่วนหนึ่งเป็นของเหลวประเภทน้ำมันหรือไขมัน (Oil Phase) อีกส่วนหนึ่งเป็นน้ำหรือสารที่ละลายในน้ำได้ดี (Aqueous Phase) และมีตัวช่วยให้ส่วนผสมทั้งสองเข้าเป็นเนื้อเดียวกันคืออิมัลซิไฟเออร์ (Emulsifiers) ตัวอย่างตำรับยานี้ได้แก่ไวตามิน เอ&ดี ไซรัป
##[[ยาแขวนตะกอน]] (Suspension) เป็นตำรับยาที่มีส่วนผสมส่วนหนึ่งเป็นของแข็ง(Solid) แขวนลอยอยู่ในน้ำกระสายยา(Aqueous Phase) และมีสารช่วยพยุงตัวยา (Suspending agent) ให้แขวนลอยอยู่ในของเหลว โดยเมื่อทำการเขย่า จะทำให้ตัวยากระจายตัวในน้ำกระสายยาได้ ตัวอย่างยาตำรับนี้ได้แก่ ยาทาแก้คัน คาลาไมด์
==== กระบวนการผลิตยาน้ำ ====
* กระบวนการผลิตยาน้ำมีขั้นตอนดังนี้
# [[การเตรียมวัตถุดิบ]] (Raw Materials Preparation)
# [[การผสมยา]] (Mixing)
# [[การตรวจวิเคราะห์ยา]] (Drug Analysis)
# [[การบรรจุ]] (Packing)
 
==== เครื่องมือที่ใช้ผลิตยาน้ำ ====
* เครื่องมือที่ใช้ผลิตยาน้ำ
# [[เครื่องชั่งยา]] (Scales)
# [[เครื่องกรองน้ำ]] (Deionization Water Equipments)
# [[ถังผสมยา]] (Mixing Tanks)
# [[ถังต้มน้ำ]] (Steamed Tanks)
# [[เครื่องปั่นยา]] (Stirrers)
# [[เครื่องบรรจุยาน้ำ]] (Liquid Filling Machines)
# [[เครื่องติดฉลากยา]] (Labeling Machines)
 
=== ยาฉีด ===
ยาฉีดเป็น[[รูปแบบยา]](Dosage Forms) ของการให้ยาที่ยาจะเข้าสู่[[กระแสเลือด]]
(Blood Circulations) ของผู้ป่วยโดยตรง ดังนั้นรูปแบบของยาชนิดนี้จึงต้องปราศจาก[[เชื้อโรค]]
(Micro-organisms) หรือ[[สารก่อไข้]](Pyrogens) ยาฉีดส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของ vials หรือ ampuls
 
==== กระบวนการผลิตยาฉีด ====
* กระบวนการผลิตยาฉีดมีขั้นตอนดังนี้
# [[การเตรียมวัตถุดิบ]] (Raw Materials Preparation)
# [[การกลั่นน้ำ]] (Water Distillation)
# [[การผสมยา]] (Formulation Mixings)
# [[การตรวจวิเคราะห์ยา]] (Drug Analysis)
# [[การบรรจุแอมพูล]] (Ampul Filling)
# [[การตรวจวิเคราะห์ยา]] (Drug Analysis)
# [[การบรรจุ]] (Packagings)
 
==== เครื่องมือที่ใช้ผลิตยาฉีด ====
* เครื่องมือที่ใช้ผลิตยาฉีด
# [[เครื่องชั่งยา]] (Scales)
# [[เครื่องกรองน้ำ]] (Deionization Water Equipments)
# [[เครื่องกลั่นน้ำ]] (Water Distillation Boiler)
# [[ถังผสมยา]] (Mixing Tanks)
# [[ถังต้มน้ำ]] (Steamed Tanks)
# [[เครื่องปั่นยา]] (Stirrers)
# [[เครื่องบรรจุแอมพูล]] (Ampul Filling Machines)
# [[เครื่องติดฉลากแอมพูล]] (Labelling Machines)
# [[ห้องปราศจากเชื้อ]] (Sterilization Room)
# [[ชุดปฏิบัติงานปราศจากเชื้อ]] (Sterilization Uniforms)
 
=== ยาเม็ด ===
เส้น 28 ⟶ 97:
 
==== เครื่องมือที่ใช้ผลิตยาเม็ด ====
[[ไฟล์:tableting.jpg|thumb|200px|เครื่องผลิตยาเม็ด]]
* เครื่องมือที่ใช้ผลิตยาเม็ด
# [[เครื่องชั่งยา]] (Scales)
เส้น 114 ⟶ 184:
# [[เครื่องติดฉลากยา]] (Labelling Machines)
 
=== ยาผง ===
== กระบวนการในการผลิตยาของเหลว ==
=== ยาน้ำ ===
ยาน้ำสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทดังนี้
# ประเภทเนื้อเดียว ได้แก่ [[สารละลาย]] (Solutions) ยาพวกนี้จะมีส่วนประกอบดังนี้ คือ
## [[ตัวยาสำคัญ]] (Active Ingredients) เช่น [[พาราเซตามอล|ยาพาราเซตามอล]] (Paracetamol) ฯลฯ
## ส่วนประกอบทำหน้าที่เป็น[[ตัวทำละลาย]] (Solvents) หรือทำให้[[เจือจาง]] (Diluents) หรือ[[น้ำกระสายยา]] (Vehicles)
## ส่วนประกอบทำหน้าที่เป็นสารแต่งสี แต่งกลิ่นและแต่งรส
## สารกันเสีย ( preservatives )
# ประเภทเนื้อผสม ได้แก่
##[[อิมัลชั่น]] (Emulsions) เป็นตำรับยาที่มีส่วนผสมที่ส่วนหนึ่งเป็นของเหลวประเภทน้ำมันหรือไขมัน (Oil Phase) อีกส่วนหนึ่งเป็นน้ำหรือสารที่ละลายในน้ำได้ดี (Aqueous Phase) และมีตัวช่วยให้ส่วนผสมทั้งสองเข้าเป็นเนื้อเดียวกันคืออิมัลซิไฟเออร์ (Emulsifiers) ตัวอย่างตำรับยานี้ได้แก่ไวตามิน เอ&ดี ไซรัป
##[[ยาแขวนตะกอน]] (Suspension) เป็นตำรับยาที่มีส่วนผสมส่วนหนึ่งเป็นของแข็ง(Solid) แขวนลอยอยู่ในน้ำกระสายยา(Aqueous Phase) และมีสารช่วยพยุงตัวยา (Suspending agent) ให้แขวนลอยอยู่ในของเหลว โดยเมื่อทำการเขย่า จะทำให้ตัวยากระจายตัวในน้ำกระสายยาได้ ตัวอย่างยาตำรับนี้ได้แก่ ยาทาแก้คัน คาลาไมด์
==== กระบวนการผลิตยาน้ำ ====
* กระบวนการผลิตยาน้ำมีขั้นตอนดังนี้
# [[การเตรียมวัตถุดิบ]] (Raw Materials Preparation)
# [[การผสมยา]] (Mixing)
# [[การตรวจวิเคราะห์ยา]] (Drug Analysis)
# [[การบรรจุ]] (Packing)
 
=== ยาครีม ===
==== เครื่องมือที่ใช้ผลิตยาน้ำ ====
* เครื่องมือที่ใช้ผลิตยาน้ำ
# [[เครื่องชั่งยา]] (Scales)
# [[เครื่องกรองน้ำ]] (Deionization Water Equipments)
# [[ถังผสมยา]] (Mixing Tanks)
# [[ถังต้มน้ำ]] (Steamed Tanks)
# [[เครื่องปั่นยา]] (Stirrers)
# [[เครื่องบรรจุยาน้ำ]] (Liquid Filling Machines)
# [[เครื่องติดฉลากยา]] (Labeling Machines)
 
=== ยาขี้ผึ้ง ===
== กระบวนการในการผลิตยาปราศจากเชื้อ ==
=== ยาฉีด ===
ยาฉีดเป็น[[รูปแบบยา]](Dosage Forms) ของการให้ยาที่ยาจะเข้าสู่[[กระแสเลือด]]
(Blood Circulations) ของผู้ป่วยโดยตรง ดังนั้นรูปแบบของยาชนิดนี้จึงต้องปราศจาก[[เชื้อโรค]]
(Micro-organisms) หรือ[[สารก่อไข้]](Pyrogens) ยาฉีดส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของ vials หรือ ampuls
 
==== กระบวนการผลิตยาฉีดเจล ====
* กระบวนการผลิตยาฉีดมีขั้นตอนดังนี้
# [[การเตรียมวัตถุดิบ]] (Raw Materials Preparation)
# [[การกลั่นน้ำ]] (Water Distillation)
# [[การผสมยา]] (Formulation Mixings)
# [[การตรวจวิเคราะห์ยา]] (Drug Analysis)
# [[การบรรจุแอมพูล]] (Ampul Filling)
# [[การตรวจวิเคราะห์ยา]] (Drug Analysis)
# [[การบรรจุ]] (Packagings)
 
=== ยาสอด ===
==== เครื่องมือที่ใช้ผลิตยาฉีด ====
* เครื่องมือที่ใช้ผลิตยาฉีด
# [[เครื่องชั่งยา]] (Scales)
# [[เครื่องกรองน้ำ]] (Deionization Water Equipments)
# [[เครื่องกลั่นน้ำ]] (Water Distillation Boiler)
# [[ถังผสมยา]] (Mixing Tanks)
# [[ถังต้มน้ำ]] (Steamed Tanks)
# [[เครื่องปั่นยา]] (Stirrers)
# [[เครื่องบรรจุแอมพูล]] (Ampul Filling Machines)
# [[เครื่องติดฉลากแอมพูล]] (Labelling Machines)
# [[ห้องปราศจากเชื้อ]] (Sterilization Room)
# [[ชุดปฏิบัติงานปราศจากเชื้อ]] (Sterilization Uniforms)
 
{{เภสัชศาสตร์}}
{{เรียงลำดับ|เภสัชอุตสาหกรรม}}
[[หมวดหมู่:เภสัชกรรม]]
[[หมวดหมู่:เภสัชศาสตร์]]
เส้น 178 ⟶ 201:
[[หมวดหมู่:เภสัชอุตสาหกรรม]]
{{โครงเภสัชกรรม}}
 
[[ar:صناعة الدواء]]
[[ca:Indústria farmacèutica]]
[[de:Pharmaunternehmen]]
[[en:Pharmaceutical industry]]
[[eo:Farmacia industrio]]
[[es:Industria farmacéutica]]
[[et:Ravimifirma]]
[[fi:Lääketeollisuus]]
[[fr:Industrie pharmaceutique]]
[[id:Perusahaan farmasi]]
[[it:Industria farmaceutica]]
[[ja:製薬]]
[[ko:제약회사]]
[[mr:औषधनिर्माण उद्योग]]
[[nl:Farmaceutische industrie]]
[[pt:Indústria farmacêutica]]
[[ro:Industria farmaceutică]]
[[ru:Фармацевтическая промышленность]]
[[sr:Фармацеутска индустрија]]
[[sv:Läkemedelsbolag]]
[[te:ఔషధ తయారీ సంస్థలు]]
[[uk:Фармацевтична промисловість]]
[[ur:دواسازی]]
[[vi:Công nghiệp dược phẩm]]