ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poom40234 (คุย | ส่วนร่วม)
เอษณีย์ (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ประวัติ: ธุรกรรมใหม่ บตท. 2560/ การให้เช่าซื้อ-เช่าซื้อแบบลิสซิ่ง
บรรทัด 51:
'''บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย''' ({{lang-en|Secondary Mortgage Corporation}}) เป็น[[รัฐวิสาหกิจ]]ในสังกัด[[กระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)|กระทรวงการคลัง]] ก่อตั้งขึ้นในปี [[พ.ศ. 2540]] เพื่อพัฒนาตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย โดยการนำหลักการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์มาใช้เพื่อระดมทุนสำหรับการขยายสินเชื่อที่อยู่อาศัยให้เพียงพอและสม่ำเสมอ รวมทั้งช่วยแก้ปัญหาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ของประเทศ<ref>[http://www.smc.or.th/?page_id=30 ความเป็นมา]</ref>
 
=== ประวัติ ===
บรรษัทตลาดรองสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย (บตท.) เป็นองค์กรรัฐวิสาหกิจ ประเภทสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ในสังกัดกระทรวงการคลัง จัดตั้งขึ้นโดยพระราชกำหนดบรรษัทตลาดรองสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย พ.ศ. 2540 ด้วยทุนประเดิมจากกระทรวงการคลัง 1,000 ล้านบาทจากกระทรวงการคลัง เพื่อเป็นมีวัตถุประสงค์หลักในการแก้ไขปัญหาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ของประเทศไทยพัฒนาตลาดรองสินเชื่อที่กำลังซบเซาในขณะนั้นอยู่อาศัย [[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 52|รัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ]] จึงได้กำหนดมาตรการในการฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศโดยรวม โดยด้วยการนำหลักการของการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์มาใช้ เพื่อให้สามารถระดมทุนสำหรับการขยายสินเชื่อที่อยู่อาศัยให้ได้มากเพียงพอ และสม่ำเสมอ<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/A/029/20.PDF พระราชกำหนดบรรษัทตลาดรองเป็นการขยายสินเชื่อที่อยู่อาศัยในวงกว้างขึ้น พ.ศ. ๒๕๔๐]เล่ม 114 ตอนเพื่อสร้างเสถียรภาพด้านสินเชื่อที่ 29ก วันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2540</ref>อยู่อาศัยในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และรักษาความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ
 
ต่อมา ในปี พ.ศ. 2560  ได้มี “พระราชบัญญัติ แก้ไขเพิ่มเติมพระราชกําหนดบรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2560”  เพื่อเพิ่มขอบเขตในการดำเนินธุรกรรมของ บตท.  ประกอบด้วย  
== การดำเนินงาน ==
บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย ดำเนินกิจการธุรกรรมทางการเงิน 4 กิจกรรม คือ
* จัดซื้อสินเชื่อที่อยู่อาศัย
* ตั๋วสัญญาใช้เงิน
* พันธบัตร
* การแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์
 
1. สามารถรับโอนสินเชื่อที่อยู่อาศัยจาก  "ผู้ประกอบธุรกิจให้สินเชื่อโดยวิธีรับจำนองอสังหาริมทรัพย์ ให้เช่าซื้อ หรือ ให้เช่าแบบลีสซิ่ง"    
บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย มีสินทรัพย์รวมในปี พ.ศ. 2559 รวมทั้งสิ้น 24,000 ล้านบาท
 
2. เป็นที่ปรึกษาทางการเงิน หรือ ที่ปรึกษาการบริหารจัดการเกี่ยวกับสินเชื่อที่อยู่อาศัย    
== ธุรกรรมหลักของ บตท. ==
1 การรับซื้อสินเชื่อที่อยู่อาศัยเพื่อการลงทุน (Portfolio Investment) บตท. จะดำเนินการซื้อสินเชื่อที่อยู่อาศัยที่มีคุณภาพจากสถาบันการเงินในตลาดแรกและผู้ประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ การรับซื้อสินเชื่อดังกล่าวจะช่วยเสริมสร้างสภาพคล่อง และลดความเสี่ยงให้แก่สถาบันในตลาดแรก และเป็นการลงทุนโดยถือเป็นสินทรัพย์ของ บตท. เอง
 
3. ดำเนินการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน 
2 การทำธุรกรรมแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (Securitization) บตท. จะซื้อสินเชื่อที่อยู่อาศัยจากสถาบันการเงินในตลาดแรก และนำสินทรัพย์ คือ สินเชื่อที่อยู่อาศัยมาแปลงเป็นหลักทรัพย์โดยการออกตราสารทางการเงินที่มีสินเชื่อที่อยู่อาศัยหนุนหลังหรือตราสารการเงินอื่นขายให้แก่นักลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ
 
4. ปรับปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมการให้เหมาะสม <ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/A/029/20.PDF พระราชกำหนดบรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย พ.ศ. ๒๕๔๐]เล่ม 114 ตอนที่ 29ก วันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2540</ref>
3 การสนับสนุนให้มีสินเชื่ออัตราดอกเบี้ยคงที่ระยะยาว เพื่อช่วยให้ประชาชนมีที่อยู่อาศัยได้ โดยลดความเสี่ยงจากการที่อัตราดอกเบี้ยผันผวน
 
=== การดำเนินงาน ===
== พันธกิจ ==
1. จัดซื้อสินเชื่อที่อยู่อาศัยจากสถาบันการเงิน ผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ และผู้ประกอบธุรกิจให้สินเชื่อโดยวิธีรับจำนองอสังหาริมทรัพย์ ให้เช่าซื้อ หรือ ให้เช่าแบบลีสซิ่ง
บตท. จะส่งเสริมการพัฒนาตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย โดย
 
2. ออกตราสารหนี้ เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ หรือ "Securitization"   เช่น ตราสารหนี้ Mortgage - Backed Securities (MBS)  และ Asset- Backed Securities (ABS) 
1 ส่งเสริมการเจริญเติบโตของตลาดแรกสินเชื่อที่อยู่อาศัย    โดยดำเนินธุรกรรมการลงทุนในสินทรัพย์ที่เป็นสินเชื่อที่อยู่อาศัยของสถาบันการเงิน เพื่อเสริมสร้างสภาพคล่องและลดความเสี่ยงในการปล่อยสินเชื่อของสถาบันการเงินที่อยู่ในตลาดแรก
 
3. สนับสนุนให้สถาบันการเงินปล่อยสินเชื่อบ้านดอกเบี้ยคงที่ระยะยาว เพื่อเป็นทางเลือกให้กับประชาชนในการผ่อนชำระเงินกู้แบบดอกเบี้ยคงที่  ลดความเสี่ยงในช่วงดอกเบี้ยผันผวน
2 ส่งเสริมการพัฒนาตลาดทุน โดยทำธุรกรรมแปลงสินเชื่อที่อยู่อาศัยให้เป็นหลักทรัพย์ เพื่อขยายการหาแหล่งเงินทุนจากตลาดทุนเข้ามาสู่ตลาดสินเชื่อที่อยู่อาศัย ออกตราสารทางการเงินที่มีสินเชื่อที่อยู่อาศัยหนุนหลัง (Mortgage-Backed Securities-MBS) หรือตราสารทางการเงินอื่น เพื่อเพิ่มทางเลือกให้กับนักลงทุนและลดปัญหา Funding Mismatch ของสถาบันการเงิน
 
=== ธุรกรรมหลักของ บตท. ===
3. ช่วยให้ประชาชนสามารถขอกู้สินเชื่อที่อยู่อาศัยที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่ในระยะยาวได้มากขึ้นโดยการออกตราสารทางการเงินอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นบรรทัดฐานอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง
1'''. รับซื้อสินเชื่อที่อยู่อาศัยเพื่อการลงทุน (Portfolio Investment)'''
 
1 การรับซื้อสินเชื่อที่อยู่อาศัยเพื่อการลงทุน (Portfolio Investment)  บตท. จะดำเนินการซื้อสินเชื่อที่อยู่อาศัยที่มีคุณภาพจากสถาบันการเงินในตลาดแรกและ ผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์  ผู้ประกอบธุรกิจให้สินเชื่อโดยวิธีรับจำนองอสังหาริมทรัพย์  การรับซื้อสินเชื่อดังกล่าวให้เช่าซื้อ หรือ ให้เช่าแบบลีสซิ่ง” ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างสภาพคล่อง และลดความเสี่ยงให้แก่สถาบันในตลาดแรก และเป็นการลงทุนโดยถือเป็นสินทรัพย์ของ บตท. เอง
 
*'''2. การทำธุรกรรมแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (Securitization)'''
 
2 การทำธุรกรรมแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (Securitization)  บตท. จะซื้อสินเชื่อที่อยู่อาศัยจากสถาบันการเงินในตลาดแรก และนำสินทรัพย์ คือ สินเชื่อที่อยู่อาศัยมาแปลงเป็นหลักทรัพย์โดยการออกตราสารทางการเงินที่มีสินเชื่อที่อยู่อาศัยหนุนหลังหรือตราสารการเงินอื่นขายให้แก่นักลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ
 
'''3. สนับสนุนให้มีสินเชื่อที่อยู่อาศัยอัตราดอกเบี้ยคงที่ระยะยาว'''
 
3 การสนับสนุนให้มีสินเชื่ออัตราดอกเบี้ยคงที่ระยะยาว  เพื่อช่วยให้ประชาชนมีที่อยู่อาศัยได้ โดยลดความเสี่ยงจากการที่อัตราดอกเบี้ยผันผวน
 
=== วิสัยทัศน์ ===
“เป็นกลไกหลักเพื่อรองรับการขยายสินเชื่อที่อยู่อาศัยของประเทศไทย”
 
=== พันธกิจ ===
บตท'''1. จะส่งเสริมการพัฒนาเจริญเติบโตของตลาดแรกและตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย''' โดย
 
 โดยดำเนินธุรกรรมการลงทุนในสินทรัพย์ที่เป็นสินเชื่อที่อยู่อาศัยของสถาบันการเงิน ผู้ประกอบการธุรกิจอสังหาริมทรัพย์  ผู้ประกอบธุรกิจให้สินเชื่อโดยวิธีรับจำนองอสังหาริมทรัพย์ ให้เช่าซื้อ หรือ ให้เช่าแบบลีสซิ่ง เป็นการเสริมสภาพคล่องและลดความเสี่ยงในการปล่อยสินเชื่อที่อยู่อาศัยของสถาบันดังกล่าว
 
'''2. ส่งเสริมการพัฒนาตลาดทุน'''
 
2 ส่งเสริมการพัฒนาตลาดทุน  โดยทำธุรกรรมแปลงสินเชื่อที่อยู่อาศัยให้สินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ เพื่อขยายการหาแหล่งเงินทุนจากตลาดทุนเข้ามาสู่ตลาดสินเชื่อที่อยู่อาศัย ออกตราสารทางการเงินที่มีสินเชื่อที่อยู่อาศัยหนุนหลัง (Mortgage- Backed Securities- : MBS) หรือตราสารทางการเงินอื่น เพื่อเพิ่มทางเลือกให้กับนักลงทุนและลดปัญหา Funding Mismatch ของสถาบันการเงิน เป็นการช่วยลดความผันผวนทางเศรษฐกิจ
 
'''3. ช่วยให้ประชาชนสามารถขอกู้สินเชื่อที่อยู่อาศัยที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่ในระยะยาวได้มากขึ้นโดยการออกตราสารทางการเงินอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นบรรทัดฐานอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง'''
 
 โดยผลักดันระบบสินเชื่อที่อยู่อาศัยของตลาดแรกให้มีการปล่อยสินเชื่อระยะยาว เพื่อประโยชน์ของผู้บริโภค
 
== อ้างอิง ==