ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จิญจมาณวิกา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Raphind (คุย | ส่วนร่วม)
Raphind (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 38:
ความจริงจึงปรากฏแก่คนทั้งหลายว่า นางมิได้ตั้งครรภ์ นางได้กล่าวตู่หาความใสร้ายพระพุทธองค์ คนทั้งหลายพากันลุกฮือขึ้นไล่ทุบตี พอออกไปพ้นประตูพระเชตวันมหาวิหาร นางก็ถูกแผ่นดินสูบ
===ผลกรรมจากการถูกใส่ร้าย===
กฎแห่งกรรม หรือผลแห่งการกระทำ คือ กระทำไว้ จึงถูกกระทำคืน หากจะเห็นได้ว่าพุทธศาสนาให้ความสำคัญกับกรรม หรือกฏแห่งการกระทำ ดังกรณีที่พระพุทธเจ้าตรัสว่าเหตุ มาสู่ผลที่ถูกกล่าวตู่ <ref> [ขุ.อป.ขุทกนิกาย อปทาน (ไทย) เล่ม ๓๒/ข้อ ๖๗-๗๒/หน้า ๕๗๕] </ref> เพราะเคยไปกล่าวตู่พระปัจเจกพุทธเจ้านามว่า “สุรภี” “ในชาติอื่น ๆ ในปางก่อน เราเกิดเป็นนักเลงชื่อว่าปุนาลิ ได้กล่าวตู่พระปัจเจกพุทธเจ้ามีนามว่าสุรภี ผู้ไม่ประทุษร้ายใคร” <ref> [ขุ.อป. หรือ ขุทกนิกาย อปทาน (ไทย) ๓๒/๖๗/๕๗๕] </ref> ด้วยผลของการกระทำนั้น ทำให้ตกนรก เสวยทุกขเวทนาหลายพันปี <ref>[ขุ.อป. หรือ ขุทกนิกาย อปทาน (ไทย) เล่ม ๓๒/ข้อ ๖๘/หน้า ๕๗๕] </ref> กล่าวตู่พระเถระนามนันทะ และทำให้ตกนรกถึง ๑๐๐,๐๐๐ ปี <ref> [ขุ.อป. หรือ ขุทกนิกาย อปทาน (ไทย) เล่ม ๓๒/ข้อ ๗๑/หน้า ๕๗๕] </ref> และเศษของการกระทำ ทำให้ต้องได้รับการกล่าวตู่จากนาง “สุนทรี” <ref> [ขุ.อป. หรือ ขุทกนิกาย อปทาน (ไทย) เล่ม ๓๒/ข้อ ๖๙/หน้า ๕๗๕] </ref> และ “นางจิญจมาณวิกา” <ref>ขุ.อป. หรือ ขุทกนิกาย อปทาน (ไทย) เล่ม ๓๒/ข้อ ๗๒/หน้า ๕๗๕] </ref> เมื่อพิจารณาจากแนวคิดนี้ทำให้เห็นว่าเพราะตกเป็นผู้ถูกกระทำ การคืนกลับด้วยแนวคิดเรื่อง “กรรมและผลของการกระทำ” จึงเกิดขึ้นและก่อให้เกิดการเอาคืน แต่ผลกระทบต่อชีวิตในฐานะที่เป็นมนุษย์ที่รับผลของการกระทำต่อผลกระทบที่ เกิดขึ้น
 
== อ้างอิง ==