ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โฌแซ็ฟ ฟูเช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut ย้ายหน้า โฌแซ็ฟ ฟูเช ไปยัง โฌแซ็ฟ ฟูว์เช
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox officeholder
| name = โฌแซ็ฟ ฟูเชฟูว์เช
| honoric-prefix = [[Duke of Otranto]]
| name = โฌแซ็ฟ ฟูเช
| image = Joseph Fouché.png
| office = ประธานคณะมนตรีฝ่ายบริหารฝรั่งเศส
เส้น 18 ⟶ 17:
}}
 
'''โฌแซ็ฟ ฟูเชฟูว์เช ดยุกที่ 1 แห่งโอตรันโต''' ({{lang-fr|Joseph Fouché, 1st Duc d'Otrante}}) เป็นรัฐบุรุษแห่ง[[สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1]] เขาเป็นที่จดจำจากการใช้ความรุนแรงในการปราบปรามผู้ก่อจลาจลในลียงระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสในปี 1793 และหลังนโปเลียนก่อ[[รัฐประหาร 18 บรูว์แมร์|รัฐประหารเดือนบรูว์แมร์]]ในปี 1799 เขาก็ได้รับตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการตำรวจและได้รับบรรดาศักดิ์เป็นดยุกแห่งโอตรันโต
 
โฌแซ็ฟ ฟูเชฟูว์เช เกิดที่เลอเปลเลแร็ง หมู่บ้านเล็กๆใกล้กับเมือง[[น็องต์]] เขาเข้ารับการศึกษาที่วิทยาลัยโบสถ์ในน็องต์ เขาเดินทางมาปารีสด้วยความตั้งใจอยากเป็นครู ซึ่งก็ทำให้เขาประสบความก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เขาได้เป็นอาจารย์ในวิทยาลัยหลายแห่งของปารีส ซึ่งทำให้เขาได้มีโอกาสรู้จักกับ[[มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์]] เขาและรอแบ็สปีแยร์มีการพบปะกันทั้งในช่วงก่อนการปฏิวัติและในช่วงต้นของการปฏิวัติ ต่อมาในเดือนตุลาคม 1790 เขาถูกเรียกตัวกลับไปสอนที่เมืองน็องต์ การที่ฟูเชฟูว์เชเป็นคนหัวประชาธิปไตยและต่อต้านศาสนจักร ก็ทำให้เขากลายเป็นที่นิยมชมชอบของประชาชนเมืองน็องต์ และทำให้เขาได้เป็นผู้นำระดับท้องถิ่นของ[[ฌากอแบ็ง]]
 
หลังระบอบกษัตริย์ล่มสลายลงในเดือนสิงหาคม 1792 ฟูเชฟูว์เชก็ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้แทนของ[[จังหวัดลัวรัตล็องติก]]ใน[[สภากงว็องซียงแห่งชาติ]] ช่วงแรกเขาไปคลุกคลีอยู่กับฝ่าย[[ฌีรงแด็ง]] แต่เนื่องจากพวกฌีรงแด็งไม่สนับสนุนการสำเร็จโทษพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ทำให้ฟูเชฟูว์เชตัดสินใจย้ายไปอยู่ฝ่าย[[ลามงตาญ]] ฟูเชฟูว์เชสนับสนุนอย่างแรงกล้าให้มีการประหารชีวิตพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ในทันที
 
ในเดือนพฤศจิกายน 1793 ฟูเชฟูว์เชเดินทางไปเมืองลียงกับฌ็อง-มารี กอโล แดร์บัว เพื่อประหารเหล่าผู้ก่อกบฎสภาจำนวน 271 คน<ref>Hanson, P.R. (2003) The Jacobin Republic Under Fire. The Federalist Revolt in the French Revolution, p. 193.</ref> มีการล่ามผู้ต้องโทษเข้าด้วยกันโดยใช้โซ่และใช้กระสุนปืนใหญ่ขนาดเล็กยิงสังหาร ทำให้ฟูเชฟูว์เชได้รับฉายาว่า "จอมประหารแห่งลียง"<ref name="Napoleon">{{cite book |last=Schom |first=Alan |title=Napoleon Bonaparte |year=1997 |publisher=HarperCollins Publishers, New York |isbn=0-06-092958-8 |chapter=Fouche's Police |pages=253–255}}
</ref> ความโหดร้ายของฟูเชฟูว์เชทำให้รอแบ็สปีแยร์เกิดหวั่นใจขึ้นมา รอแบ็สปีแยร์พยายามกำจัดฟูเชฟูว์เชให้พ้นจากสโมสรฌากอแบ็งในวันที่ 14 กรกฎาคม 1794 แต่ฟูเชฟูว์เชไหวตัวทันและหลบซ่อนตัวอยู่ในปารีสภายใต้การคุ้มครองของ[[ปอล บารัส]] และร่วมวางแผนโค่นล้มรอแบ็สปีแยร์ การโค่นล้มรอแบ็สปีแยร์ในวันที่ 27 กรกฎาคม 1794 นำไปสู่การจัดตั้งรัฐบาลใหม่ที่เรียกว่าคณะดีแร็กตัวร์
 
ในเดือนกรกฎาคม 1799 ฟูเชฟูว์เชได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการตำรวจในห้วงเวลาที่ปารีสเต็มไปด้วยความวุ่นวาย [[แอมานุแอล โฌแซ็ฟ ซีเยแย็ส]] สมาชิกดีแร็กตัวร์คนใหม่ ต้องการควบคุมพวกฌากอแบ็งที่พยายามเปิดสโมสรขึ้นมาอีกครั้ง ฟูเชฟูว์เชได้สั่งปิดสโมสรฌากอแบ็งตามความต้องการของซีเยแย็ส พร้อมทั้งตามล่านักเขียนและนักหนังสือพิมพ์ทั้งของฝ่ายฌากอแบ็งและฝ่ายนิยมเจ้า เมื่อนายพลนโปเลียนกลับจากอียิปต์ถึงฝรั่งเศสในเดือนตุลาคม ฟูเชฟูว์เชเข้าร่วมกับนโปเลียนและ[[แอมานุแอล โฌแซ็ฟ ซีเยแย็ส|ซีเยแย็ส]]เพื่อโค่นล้มอำนาจของคณะดีแร็กตัวร์ ภายหลัง[[รัฐประหาร 18 บรูว์แมร์]] ฟูเชฟูว์เชก็กลายเป็นคนสนิทของนโปเลียน นโปเลียนคงตำแหน่งรัฐมนตรีตำรวจของฟูเชฟูว์เชไว้ตามเดิม
 
==อ้างอิง==