ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Santhai21 (คุย | ส่วนร่วม)
กู้ชีพ เป็น คำว่า ช่วยชีวิต และ ภาวะหายใจหยุด เป็นภาวะหยุดหายใจ ที่มา Thai Resuscitation Council (TRC) https://thaicpr.org/
บรรทัด 9:
OtherCodes = |
}}
'''การนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพช่วยชีวิต'''<ref name=royin>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน]. เรียกข้อมูลวันที่ [[27 กุมภาพันธ์|27 กพ.]] [[พ.ศ. 2552|2552]].</ref> ({{Lang-en|Cardiopulmonary resuscitation}}) หรือ '''ซีพีอาร์''' เป็นหัตถการฉุกเฉินทางการแพทย์สำหรับผู้ที่[[หัวใจหยุดเต้น]] หรือ[[หยุดหายใจ]]ในบางกรณี<ref name=medline> {{cite web|url=http://www.nlm.nih.gov/medlineplus/ency/article/000010.htm|title=US National Library of Medicine Encyclopedia - Definition of CPR|accessdate=2007-06-12}} {{en icon}}</ref> อาจทำโดย[[บุคลากรทางการแพทย์]] [[ผู้เชี่ยวชาญด้านการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน]] หรือโดยคนทั่วไปที่ได้รับการฝึกก็ได้<ref> {{cite web|url=http://www.redcross.org/services/hss/courses/|title=US Red Cross list of courses for all skill levels|accessdate=2007-06-12}} {{en icon}}</ref>
 
ตลอด 50 ปีที่ผ่านมา การนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพช่วยชีวิตนั้นประกอบด้วยการจำลอง[[การไหลเวียนโลหิต]] (เช่น การนวดหัวใจ) และการจำลอง[[การหายใจ]] (เช่น การผายปอด) <ref name=medline/><ref> {{cite web|url=http://www.resus.org.uk/pages/compCPRs.htm|title=Resuscitation Council UK Comment on Compression Only CPR|accessdate=2007-06-12}} {{en icon}}</ref> อย่างไรก็ดี ในเดือน[[มีนาคม]] [[พ.ศ. 2551]] สมาคมโรคหัวใจแห่งสหรัฐอเมริกา (American Heart Association) และสภาการกู้ชีพช่วยชีวิตยุโรป (European Resuscitation Council) เสนอให้เห็นถึงผลดีของการนวดหัวใจเพียงอย่างเดียวโดยไม่ต้องผายปอดสำหรับผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้นผู้ใหญ่<ref name=Circstatement> {{cite web|url=http://circ.ahajournals.org/cgi/content/abstract/CIRCULATIONAHA.107.189380v1|title=Hands-Only (Compression-Only) Cardiopulmonary Resuscitation: A Call to Action for Bystander Response to Adults Who Experience Out-of-Hospital Sudden Cardiac Arrest.|accessdate=2008-04-02}} {{en icon}}</ref><ref> {{cite web|url=http://www.erc.edu/index.php/docLibrary/en/viewDoc/775/3/|title=Advisory statement of the European Resuscitation Council: Advisory statement of the European Resuscitation Council on Basic Life Support.|accessdate=2008-06-13}} {{en icon}}</ref> ส่วนการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพช่วยชีวิตนั้นยังคงทำอยู่เป็นส่วนหนึ่งของการกู้ชีวิตระดับสูงจนกว่าหัวใจของผู้ป่วยจะกลับมาเต้นตามปกติ หรือเสียชีวิต
 
หลักการของการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพช่วยชีวิตไม่ใช่การทำให้หัวใจเต้นขึ้นใหม่ แต่เป็นเพื่อรักษาให้มีการไหลเวียนของเลือดนำ[[ออกซิเจน]]ไปเลี้ยง[[สมอง]]และ[[หัวใจ]] เป็นการชะลอการตายของเนื้อเยื่อและเพิ่มโอกาสที่ผู้ป่วยจะฟื้นกลับขึ้นมาโดยไม่มีความเสียหายถาวรเกิดขึ้นกับสมอง ปกติแล้วการกระตุ้นให้หัวใจเต้นขึ้นใหม่จะต้องใช้การกู้ชีพช่วยชีวิตขั้นสูง เช่น [[การช็อตไฟฟ้าหัวใจ]]
== ข้อบ่งชี้ ==
ข้อบ่งชี้ของการเริ่มการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพช่วยชีวิตนั้นใช้สำหรับบุคคลที่ไม่ตอบสนอง (unresponsive) และไม่หายใจหรือหายใจเฮือก มีโอกาสมากที่จะอยู่ในภาวะ[[หัวใจหยุด|หัวใจหยุดเต้น]]<ref name=CircEx10/>{{rp|S643}} ถ้ายังมีชีพจรอยู่แต่ไม่หายใจ (ภาวะหายใจหยุดหายใจ) ควรเริ่มการช่วยหายใจมากกว่า อย่างไรก็ดีผู้ช่วยชีวิตช่วยเหลือหลายคนอาจไม่มีความเชี่ยวชาญในการจับชีพจร คำแนะนำใหม่จึงกำหนดให้ผู้ช่วยชีวิตที่เป็นคนทั่วไปไม่ต้องพยายามจับชีพจร และให้เริ่มการช่วยชีวิตไปเลย ส่วนผู้ช่วยชีวิตที่เป็นบุคลากรทางการแพทย์สามารถพิจารณาจับชีพจรก่อนเริ่มการช่วยชีวิตได้ตามเห็นสมควร<ref>European Resuscitation Council (2005), "Guidelines for resuscitation", Part 2, "Adult basic life support": "The following is a summary of the evidence-based recommendations for the performance of basic life support: Rescuers begin CPR if the victim is unconscious, not moving, and not breathing (ignoring occasional gasps).[...]"", available at https://www.erc.edu/index.php/guidelines_download_2005/en/</ref>
 
== วิธีการ ==
พ.ศ. 2553 [[American Heart Association|สมาคมโรคหัวใจแห่งสหรัฐอเมริกา]]และ[[International Liaison Committee on Resuscitation|คณะกรรมการประสานงานนานาชาติว่าด้วยการกู้ชีพชีวิต]]ได้ปรับปรุงแนงทางแนวทางปฏิบัติการกู้ชีพช่วยชีวิตขึ้นใหม่<ref name=CircEx10>{{cite journal |author=Field JM, Hazinski MF, Sayre MR, ''et al.'' |title=Part 1: executive summary: 2010 American Heart Association Guidelines for Cardiopulmonary Resuscitation and Emergency Cardiovascular Care |journal=Circulation |volume=122 |issue=18 Suppl 3 |pages=S640–56 |year=2010 |month=November |pmid=20956217 |doi=10.1161/CIRCULATIONAHA.110.970889 |url=}}</ref>{{rp|S640}}<ref>{{cite journal |author=Hazinski MF, Nolan JP, Billi JE, ''et al.'' |title=Part 1: executive summary: 2010 International Consensus on Cardiopulmonary Resuscitation and Emergency Cardiovascular Care Science With Treatment Recommendations |journal=Circulation |volume=122 |issue=16 Suppl 2 |pages=S250–75 |year=2010 |month=October |pmid=20956249 |doi=10.1161/CIRCULATIONAHA.110.970897 |url=}}</ref> มีการให้ความสัมพันธ์กับคุณภาพของการกู้ชีพช่วยชีวิต โดยเฉพาะอัตราเร็วและความลึกของการกดหน้าอกร่วมกับการไม่ทำให้เกิดภาวะหายใจเกิน<ref name=CircEx10/>{{rp|S640}} มีการเปลี่ยนแปลงลำดับขั้นตอนการช่วยชีวิตสำหรับทุกช่วงอายุยกเว้นทารก โดยเปลี่ยนจาก ABC (ทางเดินหายใจ การหายใจ การไหลเวียน) เป็น CAB (การกดหน้าอก ทางเดินหายใจ การหายใจ)<ref name=CircEx10/>{{rp|S642}} โดยมีข้อยกเว้นเฉพาะผู้ป่วยที่ชัดเจนว่ามีภาวะหายใจหยุด เช่น จมน้ำ เป็นต้น<ref name=CircEx10/>{{rp|S642}}
=== แบบมาตรฐาน ===
อัตราส่วนการกดหน้าอกต่อการช่วยหายใจที่แนะนำคือ 30:2<ref name=AHAHighlights>{{cite web |url=http://www.heart.org/idc/groups/heart-public/@wcm/@ecc/documents/downloadable/ucm_317350.pdf |title=Highlights of the 2010 American Heart Association Guidelines for CPR and ECC |format=pdf |work=American Heart Association |accessdate=}}</ref>{{rp|8}} ส่วนในเด็กหากมีผู้ช่วยเหลือตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปแนะนำให้ใช้อัตราส่วน 15:2<ref name=AHAHighlights/>{{rp|8}} ในทารกแรกเกิดใช้อัตราส่วน 3:1 เว้นแต่รู้อยู่ก่อนว่าเป็นภาวะหัวใจหยุดที่มีสาเหตุมาจากหัวใจโดยตรง (cardiac cause) ให้ใช้อัตราส่วน 15:2 ได้<ref name=CircEx10/>{{rp|S647}} หากได้เริ่มการช่วยหายใจขั้นสูงแล้ว (เช่น [[การใส่ท่อช่วยหายใจ|ใส่ท่อช่วยหายใจทางหลอดลม]] หรือ[[laryngeal mask airway|หน้ากากปิดกล่องเสียง]]) ให้ดำเนินการช่วยหายใจและกดหน้าอกไปได้อย่างต่อเนื่องโดยไม่ต้องนับเป็นจังหวะอัตราส่วน โดยให้ช่วยหายใจด้วยอัตรา 8-10 ครั้งต่อนาที<ref>{{cite journal |author=Berg RA, Hemphill R, Abella BS, ''et al.'' |title=Part 5: adult basic life support: 2010 American Heart Association Guidelines for Cardiopulmonary Resuscitation and Emergency Cardiovascular Care |journal=Circulation |volume=122 |issue=18 Suppl 3 |pages=S685–705 |year=2010 |month=November |pmid=20956221 |doi=10.1161/CIRCULATIONAHA.110.970939 |url=}}</ref> ลำดับของการช่วยเหลือที่แนะนำคือให้เริ่มจากการกดหน้าอก ('''C'''hest compression) ช่วยทางเดินหายใจ ('''A'''irway) และตามด้วยการช่วยหายใจ ('''B'''reathing) คือลำดับ CAB เว้นแต่มีข้อบ่งชี้อื่น<ref name=CircEx10/>{{rp|S642}} โดยกดหน้าอกเร็วอย่างน้อย 100 ครั้งต่อนาที<ref name=AHAHighlights/>{{rp|8}} ความลึกของการกดหน้าอกสำหรับผู้ใหญ่และเด็กคือประมาณ 5 เซนติเมตร (2 นิ้ว) และในทารกคือประมาณ 4 เซนติเมตร (1.5 นิ้ว)<ref name=AHAHighlights/>{{rp|8}} ใน ค.ศ. 2010 Resuscitation council ของอังกฤษยังแนะนำให้ใช้ลำดับการช่วยเหลือ ABC ในการช่วยกู้ชีพชีวิตเด็ก<ref>{{cite web|url=http://www.resus.org.uk/pages/pals.pdf|title=Resuscitation Council UK Paediatric Advanced Life Support Guidelines|accessdate=2010-10-24|format=PDF}}</ref> เนื่องจากการจับชีพจรอาจเป็นเรื่องยากสำหรับผู้ช่วยเหลือที่เป็นคนทั่วไปจึงได้ตัดขั้นตอนนี้ออก แม้จะเป็นบุคลากรทางการแพทย์ก็ไม่แนะนำให้เสียเวลากับการพยายามจับชีพจรนานเกิน 10 วินาที<ref name=AHAHighlights/>{{rp|8}} ในการกดหน้าอกผู้ใหญ่ให้ใช้สองมือ ในเด็กใช้มือเดียว และในทารกใช้สองนิ้ว<ref>{{cite book|coauthors=Mohun, Janet et al.|title=First Aid Manual|publisher=St John Ambulance, St Andrews Ambulance and British Red Cross}}</ref>
=== แบบกดหน้าอกอย่างเดียว ===
หมายถึงการกดหน้าอกเพื่อช่วยกู้ชีพชีวิตโดยไม่มีการช่วยหายใจ<ref name=CircEx10/>{{rp|S643}} เป็นวิธีที่ให้ใช้ได้สำหรับผู้ช่วยเหลือที่ไม่ได้รับการฝึกฝนมาก่อนหรือไม่เชี่ยวชาญเนื่องจากเป็นวิธีที่สามารถทำไปพร้อมกับรับคำแนะนำทางโทรศัพท์ได้โดยง่าย<ref name=CircEx10/>{{rp|S643}}<ref name=AHAHighlights/>{{rp|8}}<ref name=Lancet2010>{{cite journal |author=Hüpfl M, Selig HF, Nagele P |title=Chest-compression-only versus standard cardiopulmonary resuscitation: a meta-analysis |journal=Lancet |volume= 376|issue= 9752|pages= 1552–7|year=2010 |month=October |pmid=20951422 |pmc=2987687 |doi=10.1016/S0140-6736(10)61454-7 |url=}}</ref> วิธีการกดหน้าอกเหมือนกันกับในวิธีมาตรฐานคือกดด้วยอัตราอย่างน้อย 100 ครั้งต่อนาที เชื่อว่าการแนะนำให้มีการกดหน้าอกเพื่อกู้ชีพช่วยชีวิตโดยไม่มีการช่วยหายใจนี้จะทำให้มีผู้ช่วยเหลือที่สมัครใจจะเข้ามาช่วยเหลือผู้ป่วยที่หัวใจหยุดเต้นได้มากขึ้น<ref name=EMS37-6>{{cite journal|last= Ewy|first=Gordon A|month=June | year=2008|title=Cardiocerebral Resuscitation: Could this new model of CPR hold promise for better rates of neurologically intact survival?|accessdate=2008-08-02|url=http://emsresponder.com/print/Emergency--Medical-Services/CARDIOCEREBRAL-Resuscitation/1$7857 |journal=EMS Magazine|publisher=Cygnus|volume=37|issue=6|doi= |pages=41–49}}</ref>
 
== ภาวะแทรกซ้อน ==
การนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพช่วยชีวิตเป็นทางเลือกสุดท้ายของการช่วยชีวิตซึ่งหากไม่ได้ทำแล้วผู้ป่วยที่ไม่มีชีพจรจะเสียชีวิตอย่างแน่นอน ธรรมชาติของลักษณะการกดหน้าอกเพื่อช่วยกู้ชีพชีวิตย่อมนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนที่อาจจำเป็นต้องได้รับการแก้ไขภายหลัง ภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยได้แก่ [[Rib fracture|ซี่โครงหัก]] [[Sternal fracture|กระดูกสันอกหัก]] เลือดออกใน[[Anterior mediastinum|ช่องอกด้านหน้า]] ภาวะแทรกซ้อนเกี่ยวกับ[[Upper respiratory tract|ทางเดินหายใจส่วนบน]] การบาดเจ็บต่อ[[อวัยวะในช่องท้อง]] และภาวะแทรกซ้อนเกี่ยวกับเนื้อเยื่อ[[ปอด]] เป็นต้น
 
การบาดเจ็บที่พบบ่อยที่สุดจากการช่วยกู้ชีพชีวิตคือกระดูกซี่โครงหัก จากการศึกษาวิจัยพบว่ามีโอกาสเกิดประมาณ 13-97% และกระดูกสันอกหักซึ่งมีโอกาสเกิดประมาณ 1-43% ภาวะเหล่านี้ถือเป็น[[Iatrogenesis|ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากการให้การรักษา]] (iatrogenic) และอาจทำให้จำเป็นต้องได้รับการรักษาเพิ่มเติม (หากผู้ป่วยรอดชีวิตจากภาวะหัวใจหยุดได้) แต่ภาวะเหล่านี้เพียง 0.5% เท่านั้นที่เป็นมากจนถือว่าเป็นอันตรายต่อชีวิต
 
โอกาสที่จะเกิดการบาดเจ็บชนิดใดหรือเสี่ยงมากน้อยแค่ไหนขึ้นกับปัจจัยหลายอย่างเช่นเพศและอายุ เช่น ผู้หญิงมีโอกาสเกิดกระดูกสันอกหักมากกว่าผู้ชาย ผู้สูงอายุมีโอกาสเกิดกระดูกซี่โครงหักมากกว่าคนอายุน้อย เป็นต้น ผู้ป่วยเด็กและทารกมีโอกาสเกิดกระดูกซี่โครงหักน้อยโดยมีโอกาสประมาณ 0-2% ซึ่งหากเกิดมักเป็นกระดูกซี่โครงด้านหน้าหักและหักหลายชิ้น
 
ในกรณีที่มีการกดหน้าอกเพื่อกู้ชีพช่วยชีวิตในผู้ป่วยที่ไม่ได้มีภาวะหัวใจหยุด มีผู้ได้รับบาดเจ็บดังกล่าวเพียงประมาณ 2% (แต่มีความรู้สึกเจ็บหรือไม่สบายตัวประมาณ 12%)
 
== วิทยาการระบาด ==
=== โอกาสของการได้รับการช่วยกู้ชีพชีวิต ===
มีการศึกษาวิจัยหลายชิ้นที่พบว่าโอกาสที่ผู้ที่มีหัวใจหยุดนอกที่พักอาศัยจะได้รับการช่วยกู้ชีพชีวิตจากผู้เห็นเหตุการณ์ที่เป็นคนทั่วไปหรือคนในครอบครัวอยู่ที่ 14% - 45% โดยมีมัธยฐานอยู่ที่ 32% บ่งบอกว่าผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้นนอกที่พักอาศัยประมาณหนึ่งในสามได้รับการช่วยเหลือด้วยการช่วยกู้ชีพชีวิต อย่างไรก็ดีประสิทธิภาพของการช่วยกู้ชีพชีวิตที่ได้รับนั้นมีความแตกต่างกันไป การศึกษาวิจัยบางชิ้นพบว่าผู้ช่วยกู้ชีพชีวิตเพียงครึ่งหนึ่งเท่านั้นที่ทำการช่วยกู้ชีพชีวิตเบื้องต้นได้ถูกต้อง งานวิจัยใหม่พบว่าคนทั่วไปที่เคยได้รับการอบรมการช่วยกู้ชีพชีวิตส่วนใหญ่ไม่มีความมั่นใจและความสามารถที่เพียงพอในการช่วยกู้ชีพชีวิตให้เหมาะสม ผู้เชี่ยวชาญเหล่านี้เชื่อว่าควรมีการปรับปรุงคุณภาพของการฝึกสอนการกู้ชีพชีวิต เพื่อให้ผู้ที่ได้รับการฝึกมีความมั่นใจที่จะให้การกู้ชีพชีวิตได้ดีมากขึ้น
=== โอกาสของการได้รับการช่วยกู้ชีพชีวิตทันเวลา ===
การช่วยกู้ชีพชีวิตจะมีโอกาสประสบผลสำเร็จก็ต่อเมื่อได้เริ่มทำภายใน 6 นาที หลังการไหลเวียนของเลือดหยุดลงเนื่องจากเป็นช่วงเวลาที่เนื้อสมองส่วนที่ขาดเลือดจะเสียหายอย่างถาวร เซลล์สมองเหล่านี้เมื่อขาดออกซิเจนเป็นเวลา 4-6 นาที ก็จะมีความเสียหายเกิดขึ้นและไม่สามารถกลับคืนเป็นปกติได้แม้ได้รับออกซิเจนกลับเข้าไปตามเดิม อาจมีข้อยกเว้นในกรณีที่ผู้ป่วยเกิดหัวใจหยุดเต้นในสภาวะที่มีอุณหภูมิต่ำมากๆ เนื่องจากภาวะอุณหภูมิกายต่ำจะลดอัตราของกระบวนการทางกายภาพและทางเมตาบอลิกลง ทำให้เนื้อเยื่อต่างๆ ต้องการออกซิเจนลดลง มีผู้ป่วยบางรายที่หัวใจหยุดเต้นในภาวะอุณหภูมิกายต่ำแล้วรอดชีวิตจากการให้การช่วยกู้ชีพชีวิตด้วยการนวดหัวใจผายปอด การช็อกไฟฟ้า และการให้อุณหภูมิด้วยเทคนิกขั้นสูง ได้
 
== ประวัติศาสตร์ ==
ในศตวรรษที่ 19 นายแพทย์ H. R. Silvester ได้อธิบายวิธีการจำลองการหายใจในผู้ป่วยที่ไม่หายใจโดยให้นอนหงาย ยกแขนขึ้นเหนือศีรษะเพื่อให้เกิดการหายใจเข้า ร่วมกับการกดหน้าอกเพื่อใหเกิดการหายใจออก โดยให้ทำต่อเนื่อง 16 ครั้งต่อนาที วิธีการนี้เรียกว่า The Silvester Method พบได้ในภาพยนตร์บางเรื่องช่วงต้นศตวรรษที่ 20
 
เทคนิคที่ 2 เรียกว่า Holger Neilson technique ซึ่งมีการอธิบายไว้ในคู่มือลูกเสือ (Boy Scout Handbook) ของสหรัฐอเมริกา ฉบับที่ 1 ปี ค.ศ. 1911 เสนอการช่วยหายใจโดยให้นอนคว่ำทับฝ่ามือ ตะแคงหน้า ให้ผู้ช่วยเหลือดึงข้อศอกขึ้นเพื่อกางแขนพร้อมกับกดหลังทำให้อากาศไหลเข้าปอด คล้ายกับการทำ Silvester Method แต่ทำในท่านอนคว่ำ วิธีการนี้ใช้กันอย่างแพร่หลายในช่วงทศวรรษ 1950 (ปรากฏในภาพยนตร์ ''[[Lassie]]'') รวมถึงปรากฏในภาพยนตร์การ์ตูนหลายเรื่อง และบ่อยครั้งเป็นไปเพื่อความขบขัน (ภาพยนตร์การ์ตูน ''Tom and Jerry'' ตอน The Cat and the Mermouse) และยังคงลงอธิบายอยู่ในหนังสือคู่มือลูกเสือควบคู่กับวิธีซีพีอาร์แบบสมัยใหม่จนถึงฉบับที่ 9 ใน ค.ศ. 1979 ก่อนที่จะถูกห้ามให้ลงในคู่มือกู้ชีพช่วยชีวิตในสหราชอาณาจักร
 
ในกลางศตวรรษที่ 20 สังคมการแพทย์เริ่มรับรู้และแนะนำให้คนทั่วไปใช้การช่วยการหายใจร่วมกับการกดหน้าอกเป็นการกู้ชีพชีวิตหลังเกิดภาวะหัวใจหยุด โดยมีการใช้ครั้งแรกในวิดีโอฝึกสอนปี 1962 ชื่อ "The Pulse of Life" โดย James Dude, Guy Knickerbocker และ Peter Safar โดย Jude และ Knickerbocker ร่วมกับ William Kouwenhoven และ Joseph S. Redding ได้ค้นพบวิธีการนวดหัวใจจากภายนอก ในขณะที่ Safar ได้ทำงานร่วมกับ Redding และ James Elam เพื่อพิสูจน์ประสิทธิผลของการช่วยหายใจ ส่วนเทคนิกการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพช่วยชีวิตนั้นพัฒนาขึ้นที่มหาวิทยาลัย Johns Hopkins ความพยายามแรกในการนำเทคนิกนี้มาใช้เป็นการทำกับสุนัขโดย Redding, Safar และ JW Perason หลังจากนั้นไม่นานก็มีการนำมาใช้ช่วยชีวิตเด็ก ผลการค้นพบที่ทำร่วมกันนี้ได้รับการนำเสนอที่งานประชุม Maryland Medical Society ประจำปีเมื่อวันที่ 16 กันยายน 1960 ในเมือง Ocean หลังจากนั้นจึงได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางและรวดเร็วในช่วงทศวรรษต่อมา ด้วยความช่วยเหลือจากวีดิทัศน์และงานบรรยายที่พวกเขาได้ไปบรรยาย Peter Safar ได้เขียนหนังสือ ''ABC of resuscitation'' ไว้ในปี 1957 และได้รับการสนับสนุนให้มีการเผยแพร่แก่สาธารณชนให้เกิดการเรียนรู้ในช่วงทศวรรษปี 1970
 
== อ้างอิง ==