ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอเวียงแหง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Naresuanthai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Naresuanthai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 166:
 
'''
'' '''เรื่อง "เมืองแหงวิวาท เมืองปาย" ท้ายที่สุดก็จบลงด้วยดี โดยเจ้าราชวงษ์ ผู้สำเร็จราชการกรมมหาดไทย กรมทหารเมืองนครเชียงใหม่,พระยาทรงสุรเดช ข้าหลวงใหญ่รักษาราชการมณฑลลาวเฉียง แต่งตั้งนายน้อยบัววงษ์ พระยารองกรมมหาดไทยเมืองนครเชียงใหม่ ยกกองทัพออกจากเชียงใหม่ โดยประชุมทัพณ บริเวณข่วงสิงห์ เดินทางผ่าน อ.อำเภอแม่ริม แล้วจึงเลี้ยวซ้ายเดินทวนสายน้ำแม่ริมมาพักแรม ณ วัดหนองปลามัน ต.ห้วยทราย อ.แม่ริม ผ่านหมู่บ้านรายทาง คือบ้านห้วยทราย บ้านนาหืก บ้านสะลวง บ้านกาดฮาว บ้านสันป่าตึง บ้านสันป่ายาง บ้านดอนเจียง บ้านท่าข้าม และพักแรมที่วัดสบเปิง ต.สบเปิง อ.แม่แตง จากนั้นเดินทางต่อไปยัง อ.ปาย ตัดเข้าเมืองน้อย เข้าสู่เมืองแหง เจรจากับแสนธานีพิทักษ์ และนำตัวเจ้าเมืองแหงเดินทางมาเชียงใหม่ เพื่อให้ปากคำแก่ตุลาการเชียงใหม่แล้ว ปรากฏว่าผลการสอบสวนไม่เป็นไปตามข้อกล่าวหา พระเจ้าเชียงใหม่ ได้ทำให้แสนธานีพิทักษ์กระทำพิธีถือน้ำพิพัฒน์สัจจา แล้วให้เป็นเจ้าเมืองแหงดังเดิม'''
 
 
บรรทัด 179:
* เป็นเส้นทางเดินทัพญี่ปุ่นสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 <ref>กองทัพญี่ปุ่นมาตั้งค่ายและขุดสนามเพลาะล้อมรอบค่าย ทางด้านทิศตะวันออกของหมู่บ้านเวียงแหง และมาซื้อเสบียงอาหารในตัวเวียงแหง โดยนายเสาร์ แสนเมืองมูล ขณะยังเป็นเด็กได้ห้อยแขนทหารญี่ปุ่นที่ชอบเล่นกับเด็กๆเป็นที่สนุกสนาน : สัมภาษณ์นายเสาร์ แสนเมืองมูล หมู่ที่ 4 ต.เมืองแหง อ.เวียงแหง(อายุ 72 ปี เมื่อ พ.ศ. 2549),รายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษาเส้นทางเดินทัพและค้าขายสมัยโบราณ : เชียงใหม่ เมืองกื้ด เมืองคอง เมืองแหง เมืองนาย(พม่า) 2549 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ</ref>
 
* เป็นเป้าหมายของฝ่ายสัมพันธมิตรโดยส่งฝูงบินทิ้งระเบิดเพื่อตัดเส้นทางยุทธศาสตร์สายเชียงใหม่-แม่แตง-เวียงแหง-พม่า สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2<ref>ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 หน่วยทหารช่างของไทยทำการก่อสร้างเส้นทางยุทธศาสตร์สาย เชียงใหม่ เวียงแหง พม่า จาก อ.แม่แตง ทวนสายน้ำแม่แตงจนการก่อสร้างคืบหน้ามาถึงหมู่บ้านสบก๋าย ต.กื้ดช้าง อ.แม่แตง โดยได้ตั้งแค้มป์ที่พักบริเวณเนินเขา(ปัจจุบันเป็นที่ตั้งที่ทำการหน่วยป่าไม้) ขณะนั้นมีเครื่องบินฝ่ายสัมพันธมิตรจำนวน 2 ลำ บินต่ำลัดเลาะทวนแม่น้ำแตง เสียงดังกึกก้องหุบเขา นักบินพบที่ตั้งของทหารช่าง จึงบินผ่านเลยไป แล้วย้อนกลับมาทิ้งระเบิดเพื่อทำลายแคมป์ที่พัก แต่พลาดเป้าไปประมาณ 80 เมตร ปัจจุบันยังคงปรากฏหลุมระเบิดรัศมีกว้างราว 10 เมตร ลึกประมาณ 2 เมตร : สัมภาษณ์นายดวง กาวิชัย (อายุ 88 ปี เมื่อ พ.ศ. 2549) หมู่ 1 ต.กื้ดช้าง อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ , รายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษาเส้นทางเดินทัพและค้าขายสมัยโบราณเชียงใหม่ เมืองกื้ด เมืองคอง เมืองแหง เมืองนาย(พม่า) 2549 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ</ref>
* เป็นเส้นทางบินหนีกลับฐานบินสัมพันธมิตรในประเทศพม่า หลังจากเครื่องบินถูกยิงในสมรภูมิกลางเวหาลำปาง และเครื่องบินตกที่ อ.เวียงแหง ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2<ref>เป็นเครื่องบินขับไล่สังกัดกองทัพอากาศประเทศสหรัฐอเมริกา ประจำฐานทัพในพม่า รุ่น P 38 Lightning ชนิด 2 ใบพัด 2 เครื่องยนต์ มีภารกิจทำลายตัดเส้นทางยุทธศาสตร์ไม่ให้กองทัพญี่ปุ่นส่งกำลังไปโจมตีฝ่ายสัมพันธมิตรในพม่า และเครื่องบินนี้ได้ทำการต่อสู้กลางเวหาท้องฟ้า จ.ลำปาง โดยเครื่องถูกยิง นักบินจึงหันหัวบินหนีผ่านเชียงใหม่ มาถึงบ้านห้วยไคร้ อ.เวียงแหง เครื่องบินพุ่งชนต้นไม้ ไฟลุกท่วม ทหารญี่ปุ่นซึ่งตั้งค่ายอยู่ใกล้ๆ พากันไปยังจุดที่เครื่องบินตกพบว่านักบินเสียชีวิตแล้ว จึงนำศพไปฝังใกล้ต้นไม้ใหญ่ใกล้กับจุดที่เครื่องบินตก : สัมภาษณ์นายหน่อ คำอ้าย (อายุ 72 ปี เมื่อ พ.ศ. 2549) หมู่บ้านห้วยไคร้ อ.เวียงแหง,สัมภาษณ์ ดร.อนุชาติ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา ผู้ช่วยผู้ว่าการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผู้ประสานกองทัพอากาศดำเนินการสืบค้นที่มาของเครื่องบินขับไล่นี้โดยกองทัพอากาศประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ส่งคณะผู้เชี่ยวชาญมาร่วมดำเนินการสืบทราบชนิดของเครื่องบิน สังกัด และชื่อนักบิน ,ชมรมนักเขียนการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ,2548 พบกันที่เวียงแหง โรงพิมพ์กองผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย,</ref>
 
*เป็นเส้นทางการค้าต้อนฝูงวัว ฝูงควาย ม้า ลา เดินเท้าจากเมืองปั่น(Pan)พม่า เข้ามาขายประเทศไทย ณ ช่องทางด่านหลักแต่ง อ.เวียงแหง ประมาณ พ.ศ. 2510-2545 <ref> รายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษาเส้นทางเดินทัพและค้าขายสมัยโบราณเชียงใหม่ เมืองกื้ด เมืองคอง เมืองแหง เมืองนาย(พม่า) 2549 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ,สัมภาษณ์นายเต็งหยุ้น ผายนาง กำนันตำบลเปียงหลวง เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2549 </ref>