ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รักร่วมเพศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 49.231.230.195 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Potapt
บรรทัด 29:
ในศตวรรษที่ 20 รักเพศเดียวกันเป็นเรื่องการศึกษาที่สำคัญและถกเถียงในสังคมตะวันตก โดยเฉพาะหลังจากการเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิของเกย์ที่เริ่มในปี 1969 และเมื่อผ่านอำนาจผู้มีอำนาจอย่างด้าน[[พยาธิวิทยา]]หรือความป่วยทางจิตที่สามารถรักษาได้ รักเพศเดียวกันได้มีการตรวจสอบมากขึ้นเพื่อกระตุ้นให้เข้าใจทางด้าน[[ชีววิทยา]] [[จิตวิทยา]] [[การเมือง]] [[พันธุศาสตร์]] [[ประวัติศาสตร์]] และความหลากหลายด้านวัฒนธรรมของการปฏิบัติทางเพศและอัตลักษณ์ กฎหมายและสถานภาพทางด้านสังคมของคนที่ต่อสู้ในการกระทำของชาวรักร่วมเพศ หรือการบ่งชี้ในฐานะ[[เกย์]]หรือ[[เลสเบียน]]แปรเปลี่ยนไปไปทั้งโลก และในบางที่ก็ยังคงต่อต้านทั้งทางด้านการเมืองและ[[ศาสนา]]
 
== เพศวิธีวิถี ==
=== วิถีทางเพศ ===
วิถีทางเพศ ของรักเพศเดียวกัน อาจหมายถึง "รูปแบบความคงอยู่ของ/หรือ อารมณ์ทางเพศ หรือความสนใจด้านความรัก ต่อคนที่เป็นเพศเดียวกัน" ยังคงหมายถึง ความรู้สึกส่วนตัวต่ออัตลักษณ์และการเข้าสังคม โดยยึดจากความสนใจ พฤติกรรมการแสดงออกของพวกเขา และการเป็นสมาชิกของสังคมในกลุ่มสังคมเดียวกันของพวกเขา<ref name="apahelp"/><ref name="brief"/> สัดส่วนของประชากรที่เป็นกลุ่มคนรักเพศเดียวกันค่อนข้างยากที่จะประเมิน<ref name="levay"/>แต่ส่วนใหญ่จากการที่ศึกษาในปัจจุบันอัตราอยู่ที่ 2–7%<ref name=ACSF1992/><ref name=Billy1993/><ref name=Binson1995/><ref name=Bogaert2004/><ref name=Fay1989/><ref name=Johnson1992/><ref name=Laumann1994/><ref name=Sell1995/><ref name=Wellings1994/> โดยแบ่งแยกจากไบเซ็กชวลและรักต่างเพศ
บรรทัด 51:
นักวิชาการอย่างเช่น เดวิด กรีน กล่าวว่า รักเพศเดียวกันในโครงสร้างสังคมตะวันตกสมัยใหม่ ไม่สามารถใช้ในความหมายเดียวกับความสัมพันธ์ชาย-ชาย ในสังคมที่ไม่ใช่ชาวตะวันตก หรือ และทั้งสังคมก่อนตะวันตกสมัยใหม่<ref>[http://books.google.co.in/books?id=xsHvRJ0663wCPage Cartographies of Desire: Male-male Sexuality in Japanese Discourse, 1600-1950]; By Gregory M. Pflugfelder; Published by University of California Press, 1999, ISBN 0-520-20909-5, 9780520209091
399; Quotes from pages 5 and 6;
 
In speaking of sexual desires and practices between males, I use the term male-male sexuality" rather than the more familiar "homosexuality" for deliberate reasons. To begin with, as I explain in Chapter I, inhabitants of the Japanese archipilago before the last century did not usually draw a conceptual link between male-male and female-female forms of erotic behaviour. Thus to adopt the term "homosexuality," which implies an inherent connection between the two, is to accept uncritically the effects of a discursive process whose very emergence demands historical accounting...
 
To impose such categories as "homosexuality" and "bisexuality" upon a society or conceptul universe, whether non-European or pre-nineteenth century, in which they would not have been understood in the same sense that they are currently understood, if indeed at all, and in which behaviour often followed patterns quite different from those we associate with them in our own societies, is unwittingly to hide from view the experience of those very historical subjects whom we seek to comprehend.
 
Even the word "sexuality" invites misinterpretation, so clarification is in order. By "sexuality," I do not mean fixed sexul orientation, as late twentieth century speakers of English tend to do, for instance, when they refer to a particular individual's "sexuality" -- meaning that person's place within the currently canonical trinity of "homosexuality," "heterosexulity," and "bisexuality." For much of the period examined in this study, the notion that each individual possesses a deeply rooted personal identity based on the biological sex of the preferred sexual object or objects (and specifically whether it is the same as or different from her or his own), and the tripartite taxonomy of sexual types that has resulted from this construction, held no currency in Japan, nor had they emerged even in the West.</ref>