ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แบตเตอรี่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์
| name = แบตเตอรี่
| image = Fileไฟล์:Batteries.jpg
| image_size = 250
| caption = รูปร่างของแบตเตอรี่แบบต่าง ๆ (บนซ้ายจนถึงล่างขวา) แบตเตอรี่แบบ AA 2 หน่วย, แบตเตอรี่แบบ D 1 หน่วย, แบตเตอรี่แบบหูหิ้ว 1 หน่วย, แบตเตอรี่แบบ 9 โวลท์ (PP3) 2 หน่วย, แบตเตอรี่แบบ AAA 2 หน่วย, แบตเตอรี่แบบ C 1 หน่วย, แบตเตอรี่ที่ใช้กับกล้องถ่ายวีดิโอ 1 หน่วย, แบตเตอรี่แบบใช้กับโทรศัพท์ในบ้าน 1 หน่วย
| type = [[แหล่งจ่ายไฟ]]
| working_principle = [[ปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี]], [[แรงเคลื่อนไฟฟ้า]]
| invented =
| first_produced = ทศวรรษที่ 1800
| symbol = [[ไฟล์:Battery symbol2.svg|110px]]
| symbol_caption = สัญลักษณ์แบบอิเล็กทรอนิกส์สำหรับแบตเตอรี่ในแผนภาพวงจร
}}
'''แบตเตอรี่''' ({{lang-en|Battery}}) เป็นอุปกรณ์ที่ประกอบด้วย [[เซลล์ไฟฟ้าเคมี]] หนึ่งเซลล์หรือมากกว่า ที่มีการเชื่อมต่อภายนอกเพื่อให้กำลังงานกับอุปกรณ์ไฟฟ้า<ref>{{cite book|title=Battery Reference Book|edition=third|last=Crompton|first=T. R.|date=2000-03-20|publisher=Newnes|page=Glossary 3|isbn=0080499953|url=https://books.google.ca/books?id=QmVR7qiB5AUC&lpg=PA11&ots=ckHhIPVdcC&dq=battery%20one%20or%20more%20cells&pg=PA11#v=onepage&q&f=false|accessdate=2016-03-18}}</ref> แบตเตอรี่มี [[ขั้วบวก]] ({{lang-en|cathode}}) และ [[ขั้วลบ]] ({{lang-en|anode}}) ขั้วที่มีเครื่องหมายบวกจะมีพลังงานศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าขั้วที่มีเครื่องหมายลบ ขั้วที่มีเครื่องหมายลบคือแหล่งที่มาของอิเล็กตรอนที่เมื่อเชื่อมต่อกับวงจรภายนอกแล้วอิเล็กตรอนเหล่านี้จะไหลและส่งมอบพลังงานให้กับอุปกรณ์ภายนอก เมื่อแบตเตอรี่เชื่อมต่อกับวงจรภายนอก สาร [[อิเล็กโทรไลต์]] มีความสามารถที่จะเคลื่อนที่โดยทำตัวเป็นไอออน ยอมให้ปฏิกิริยาทางเคมีทำงานแล้วเสร็จในขั้วไฟฟ้าที่อยู่ห่างกัน เป็นการส่งมอบพลังงานให้กับวงจรภายนอก การเคลื่อนไหวของไอออนเหล่านั้นที่อยู่ในแบตเตอรี่ที่ทำให้เกิดกระแสไหลออกจากแบตเตอรี่เพื่อปฏิบัติงาน<ref>{{cite web|url=http://www.merriam-webster.com/dictionary/battery|title=Battery - Definition of battery by Merriam-Webster|work=merriam-webster.com}}</ref> ในอดีตคำว่า "แบตเตอรี่" หมายถึงเฉพาะอุปกรณ์ที่ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ แต่การใช้งานได้มีการพัฒนาให้รวมถึงอุปกรณ์ที่ประกอบด้วยเซลล์เพียงเซลล์เดียว<ref>{{cite book|title=Batteries for Portable Devices|first=Gianfranco|last=Pistoia|date=2005-01-25|publisher=Elsevier|isbn=0080455565|page=1|url=https://books.google.ca/books?id=XMe1EnEMuMEC&lpg=PA1&dq=battery%20two%20or%20more%20cells&pg=PA1#v=onepage&q&f=false|accessdate=2016-03-18}}</ref>
บรรทัด 37:
}}
 
การใช้ "แบตเตอรี่" เพื่ออธิบายกลุ่มของอุปกรณ์ไฟฟ้าสามารถย้อนหลังไปในสมัย [[เบนจาอัฟ แฟรงคลิน]] ผู้ซึ่งในปี 1748 ได้อธิบายกลุ่มของ [[หม้อเลย์เดน]] โดยอุปมาว่าเป็น [[แบตเตอรี่ทางทหาร|แบตเตอรี่ของปืนใหญ่]]<ref>Bellis, Mary. [http://inventors.about.com/library/inventors/blbattery.htm History of the Electric Battery]. ''About.com''. Retrieved 11 August 2008.</ref> (เบนจามิน แฟรงคลิน ยืมคำว่า "แบตเตอรี่" จากกองทัพที่หมายถึงอาวุธที่ทำงานด้วยกัน<ref>{{cite web|url=http://environment.nationalgeographic.com/environment/energy/great-energy-challenge/battery-quiz/|title=Quiz: What You Don't Know About Batteries|author=National Geographic Society|work=National Geographic}}</ref>).
 
[[อาเลสซานโดร โวลตา]] ได้สร้างและได้อธิบายแบตเตอรี่ไฟฟ้าเคมีตัวแรก [[voltaic pile]] ในปี 1800.<ref>Bellis, Mary. [http://inventors.about.com/library/inventors/bl_Alessandro_Volta.htm Alessandro Volta – Biography of Alessandro Volta – Stored Electricity and the First Battery]. ''About.com''. Retrieved 7 August 2008.</ref> นี่เป็นชั้นซ้อนกันของแผ่นทองแดงและแผ่นสังกะสี คั่นโดยจานกระดาษชุ่มด้วยน้ำเกลือ มันสามารถผลิตกระแสที่คงที่ได้เป็นเวลานานทีเดียว โวลตาไม่ได้พอใจที่โวลเตจเกิดจากปฏิกิริยาเคมี เขาคิดว่าเซลล์ของเขาเป็นแหล่งพลังงานที่ใช้ไม่หมด<ref>Stinner, Arthur. [http://home.cc.umanitoba.ca/~stinner/stinner/pdfs/2007-alessandro.pdf Alessandro Volta and Luigi Galvani] (PDF). Retrieved 11 August 2008.</ref> และการกัดกร่อนที่กระทบต่อขั้วไฟฟ้าทั้งสองเป็นเพียงสิ่งรบกวน มากกว่าจะเป็นผลตามมาที่ไม่อาจเลี่ยงได้ของการปฏิบัติงานของพวกมัน อย่างที่ [[ไมเคิล ฟาราเดย์]] แสดงให้เห็นในปี 1834.<ref>[http://www.ideafinder.com/history/inventions/battery.htm Electric Battery History – Invention of the Electric Battery]. ''The Great Idea Finder''. Retrieved 11 August 2008.</ref>
บรรทัด 66:
 
จากมุมมองของผู้ใช้แบตเตอรี่แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้;
'''แบตเตอรี่ชนิดประจุไฟฟ้าใหม่ได้''' และ '''แบตเตอรี่ชนิดประจุไฟฟ้าใหม่ไม่ได้''' (ใช้แล้วทิ้ง) ซึ่งนิยมใช้อย่างแพร่หลายทั้งสองชนิด
 
แบตเตอรี่ใช้แล้วทิ้งเรียกอีกอย่างว่า '''เซลล์ปฐมภูมิ''' ใช้ได้ครั้งเดียว เนื่องจากไฟฟ้าที่ได้เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสารเคมีเมื่อสารเคมีเปลี่ยนแปลงหมดไฟฟ้าก็จะหมดจากแบตเตอรี่ แบตเตอรี่เหล่านี้เหมาะสำหรับใช้ในอุปกรณ์ขนาดเล็กและสามารถเคลื่อนย้ายได้สะดวก ใช้ไฟน้อยหรือในที่ที่ห่างไกลจากพลังงานไฟฟ้ากระแสสลับ
 
ในทางตรงกันข้ามแบตเตอรี่ชนิดประจุไฟฟ้าใหม่ได้หรือ '''เซลล์ทุติยภูมิ''' สามารถประจุไฟฟ้าใหม่ได้หลังจากไฟหมดเนื่องจากสารเคมีที่ใช้ทำแบตเตอรี่ชนิดนี้สามารถทำให้กลับไปอยู่ในสภาพเดิมได้โดยการประจุไฟฟ้าเข้าไปใหม่ซึ่งอุปกรณ์ที่ใช้อัดไฟนี้เรียกว่า ชาร์เจอร์ หรือ รีชาร์เจอร์
 
แบตเตอรี่ชนิดประจุไฟฟ้าใหม่ได้ที่เก่าแก่ที่สุดซึ่งใช้อยู่จนกระทั่งปัจจุบันคือ "เซลล์เปียก" หรือแบตเตอรี่ตะกั่ว-กรด (lead-acid battery) แบตเตอรี่ชนิดนี้จะบรรจุในภาชนะที่ไม่ได้ปิดผนึก (unsealed container) ซึ่งแบตเตอรี่จะต้องอยู่ในตำแหน่งตั้งตลอดเวลาและต้องเป็นพื้นที่ที่ระบายอากาศได้เป็นอย่างดี เพื่อระบายก๊าซ [[ไฮโดรเจน]] ที่เกิดจากปฏิกิริยาและแบตเตอรี่ชนิดจะมีน้ำหนักมาก
 
รูปแบบสามัญของแบตเตอรี่ตะกั่ว-กรด คือแบตเตอรี่ [[รถยนต์]] ซึ่งสามารถจะให้พลังงานไฟฟ้าได้ถึงประมาณ 10,000 [[วัตต์]]ในช่วงเวลาสั้นๆ สั้น และมีกระแสตั้งแต่ 450 ถึง 1100 [[แอมแปร์]] สารละลายอิเล็กโตรไลต์ของแบตเตอรี่คือ [[กรดซัลฟิวริก]] ซึ่งสามารถเป็นอันตรายต่อผิวหนังและตาได้ แบตเตอรี่ตะกั่ว-กรดที่มีราคาแพงมากเรียกว่า '''แบตเตอรี่เจล''' (หรือ "เจลเซลล์")
ภายในจะบรรจุอิเล็กโตรไลต์ประเภทเซมิ-โซลิด (semi-solid electrolyte) ที่ป้องกันการหกได้ดี และแบตเตอรี่ชนิดอัดไฟใหม่ได้ที่เคลื่อนย้ายได้สะดวกกว่าคือประเภท "เซลล์แห้ง" ที่นิยมใช้กันใน[[โทรศัพท์มือถือ]]และ[[คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก]] เซลล์ของแบตเตอรี่ชนิดนี้คือ
* [[แบตเตอรี่นิเกิล-แคดเมียม|นิเกิล-แคดเมียม]] (NiCd) ,
* [[แบตเตอรี่นิเกิลเมตทัลไฮไดรด์|นิเกิลเมตทัลไฮไดรด์]] (NiMH) ,
* [[แบตเตอรี่ลิเทียม-ไอออน|ลิเธียม-ไอออน]] (Li-Ion)
 
==== (Primary cell ) ใช้แล้วทิ้ง ====
* [[Zinc-carbon battery]]
* [[Alkaline battery]]
บรรทัด 111:
[[หมวดหมู่:เทคโนโลยี]]
[[หมวดหมู่:สิ่งประดิษฐ์ของเดนมาร์ก]]
{{โครงเทคโนโลยีพลังงาน}}