ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความผันแปรได้ทางพันธุกรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
เต็มบทความ
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ระวังสับสน |ความแตกต่างทางพันธุกรรม (genetic variation)|ความหลากหลายทางพันธุกรรม (genetic diversity)}}
{{ชีววิทยาวิวัฒนาการ}}
[[ไฟล์:HR in meiosis.svg | thumb | 150px |right | homologous recombination เป็นเหตุเกิดความผันแปรได้ทางพันธุกรรมที่สำคัญ]]
<!-- บทอื่น ๆ ที่เปลี่ยนทางมายังบทความนี้:
การเปลี่ยนแปรทางพันธุกรรม, ความผันแปรทางพันธุกรรม,
เส้น 31 ⟶ 30:
 
== เหตุ ==
[[ไฟล์:Haploid,HR diploidin ,triploid and tetraploidmeiosis.svg | thumb | 150px |left | polyploidyhomologous recombination จะเพิ่มเป็นเหตุเกิดความผันแปรได้ทางพันธุกรรมที่สำคัญ]]
[[ไฟล์:HRHaploid, indiploid meiosis,triploid and tetraploid.svg | thumb | 150px |rightleft | homologous recombinationpolyploidy เป็นเหตุเกิดจะเพิ่มความผันแปรได้ทางพันธุกรรมที่สำคัญ]]
[[ไฟล์:Portulaca grandiflora mutant1.jpg |thumb150px |left | การกลายพันธุ์เปลี่ยน[[แพรเซี่ยงไฮ้]]ให้มี[[ดอก]]สีต่างกัน ]]
มีเหตุหลายอย่างให้มีความผันแปรได้ทางพันธุกรรมในกลุ่มประชากร รวมทั้ง
* Homologous recombination (การรวมยีนใหม่ในโครโมโซมคู่เหมือน) เป็นแหล่งสำคัญอย่างหนึ่ง คือ ในระยะ[[ไมโอซิส]]ของ[[สิ่งมีชีวิต]]ที่[[สืบพันธ์โดยอาศัยเพศ]] [[โครโมโซม]]คู่เหมือนจะสับฝ่าย (cross over) แลกเปลี่ยน[[ยีน]] แล้วก็จะแยกออกจากกันพร้อมช่วยสร้างลูกหลานของสิ่งมีชีวิต การรวมยีนใหม่จะเกิดโดยสุ่ม{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน | date = 2016-12}} โดยมียีนเฉพาะ ๆ เป็นตัวควบคุม ซึ่งก็หมายความว่าความถี่การเกิดการรวมยีนใหม่จะต่าง ๆ กันในสิ่งมีชีวิต
เส้น 43 ⟶ 44:
เพราะการแพร่กระจายช่วยให้โครมาทิดแตกออกในหลายรูปแบบ<ref name="LIN2003">{{cite journal | authors = Linhart, Yan; Janet Gehring | title = Genetic Variability and its Ecological Implications in the Clonal Plant Carex scopulurum Holm. In Colorado Tundra | journal = Arctic, Antarctic, and Alpine Research | issue = 35.4 | year = 2003 | pages = 429-433 | doi = 10.1657/1523-0430(2003)035[0429:GVAIEI]2.0.CO;2 | volume = 35 | issn = 1523-0430}}</ref>
-->
[[ไฟล์:Portulaca grandiflora mutant1.jpg |thumb |left | การกลายพันธุ์เปลี่ยน[[แพรเซี่ยงไฮ้]]ให้มี[[ดอก]]สีต่างกัน ]]
* [[การกลายพันธุ์]]จะเพิ่มความผันแปรได้ทางพันธุกรรมภายในกลุ่มประชากร และอาจมีผลบวก ผลลบ หรือผลเป็นกลาง ๆ ต่อ[[ความเหมาะสม]]ของสิ่งมีชีวิต<ref name="WIL1980">{{cite book | author = Wills, Christopher | title = Genetic Variability | location = NewYork | publisher = Oxford University Press | year = 1980}}</ref> ความผันแปรได้ทางพันธุกรรมสามารถกระจายไปทั่วกลุ่มประชากรโดยการคัดเลือกโดยธรรมชาติได้ ถ้าการกลายพันธุ์เพิ่มความเหมาะสมของสิ่งมีชีวิต หรือถ้าผลที่เป็นอันตรายของมันมีน้อยหรือมองไม่เห็น แต่กลุ่มประชากรและความผันแปรได้ทางพันธุกรรมของมันยิ่งเล็กเท่าไร การกลายพันธุ์ที่เป็นอันตรายและเป็นยีนด้อย/ซ่อนอยู่ ก็อาจปรากฏมากขึ้นเท่านั้น<ref name="WIL1980"/>
*:ความเสียหายต่อ[[ดีเอ็นเอ]]เกิดบ่อยมาก โดยเฉลี่ย 60,000 ครั้งต่อวันต่อเซลล์ในมนุษย์ เนื่องจากกระบวนการ[[เมแทบอลิซึม]] หรือกระบวนการแยกสลายด้วยน้ำปกติตามธรรมชาติ แต่ความเสียหายโดยมากจะซ่อมได้อย่างถูกต้องแม่นยำด้วยกลไกการซ่อมดีเอ็นเอต่าง ๆ แต่ก็ยังมีความเสียหายที่เป็นการกลายพันธุ์อย่างถาวร