ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มะเร็งเต้านม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ลุกลาม←รุกราม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล โรค
| Name = มะเร็งเต้านม
| Image = Breast DCIS histopathology (1).jpg
| Caption = ภาพทางมิญชพยาธิวิทยาของมะเร็งเยื่อบุเซลล์ท่อของเต้านม ย้อมสี Hematoxylin-eosin
| DiseasesDB = 1598
| ICD10 = {{ICD10|C|50||c|50}}
| ICD9 = {{ICD9|174}}-{{ICD9|175}}
| ICDO =
| OMIM = 114480
| MedlinePlus = 000913
| eMedicineSubj = med
| eMedicineTopic = 2808
| MeshID = D001943
}}
 
บรรทัด 23:
* ผู้หญิงที่มีอายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไป จะมีความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งเต้านม โดยพบบ่อยในหญิงที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป<ref>[https://www.thaisabuy.com/health/breast-cancer/ มะเร็งเต้านม ภัยร้ายของผู้หญิงที่ต้องรู้ทันความเสี่ยง]</ref>
* หญิงที่มีประวัติคนในครอบครัวเป็นมะเร็งเต้านม จะมีความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านมมากกว่าคนปกติ รวมทั้ง ผู้ป่วยที่เคยเป็นมะเร็งเต้านม ก็มีอัตราเสี่ยงที่จะกลับมาเป็นใหม่สูงกว่าคนปกติด้วย
* ผู้ที่มีบุตรหลังอายุ 30 ปี รวมทั้ง หญิงที่ไม่เคยมีบุตร จะมีความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งเต้านมมากขึ้น
* การกลายพันธุ์ของ[[ยีน]] เช่น การเกิดการกลายพันธุ์ของยีน [[BRCA1]] หรือ [[BRCA2]] สามารถทำให้เกิดมะเร็งเต้านม และสามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้
* ผู้หญิงที่มีเต้านมเต่งตึงกว่าอายุ เช่น หญิงที่มีอายุมากกว่า 45 ปี และมีความหนาแน่นของเต้านมมากกว่าร้อยละ 75 จะมีความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านมมากกว่าคนปกติ
บรรทัด 38:
* หัวนมมีการหดตัว คัน หรือแดงผิดปกติ
* มี[[เลือด]]หรือน้ำออกจากหัวนม ( ร้อยละ 20 ของการมีเลือดออกจะเป็นมะเร็ง)
* เจ็บเต้านม ( มะเร็งเต้านมส่วนใหญ่ไม่เจ็บ นอกจากก้อนโตมากแล้ว )
* การบวมของ[[รักแร้]] เพราะ[[ต่อมน้ำเหลือง]]โต
 
== การตรวจเต้านมตนเอง ==
การตรวจมะเร็งเพื่อหาการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้น พบว่าร้อยละ 80 ของเนื้องอกที่เต้านมผู้หญิงนั้นถูกตรวจพบครั้งแรกด้วยตนเอง การตรวจเต้านมด้วยตนเอง ควรทำทุกเดือนตั้งแต่วัยสาวถึงวัยสูงอายุ เวลาที่ดีที่สุดที่จะทำการตรวจ คือ หลังหมดระดูแล้ว 3-10 วัน เพราะเป็นช่วงที่เต้านมไม่คัดตึงทำให้ตรวจได้ง่ายสำหรับผู้หญิงที่หมดระดูหรือได้รับการตัดมดลูก จะเป็นการดีถ้าได้ทำการตรวจเต้านมตนเองทุกวันที่หนึ่งของทุกเดือน
 
=== วิธีการตรวจ 3 ท่า ===
ทุกท่าจะต้องบิดลำตัวไปทั้งทางซ้ายและขวาสังเกตรูปร่าง ลักษณะ ความผิดปกติของผิวหนังรอยบุ๋ม รอยนูนของเต้านมหรือสิ่งผิดปกติอื่นๆ ของเต้านมทั้ง 2 ข้าง โดยมีท่า ดังนี้
# '''ยืนหน้ากระจก '''
#* ปล่อยแขนข้างลำตัวตามสบาย
#* ยกแขนทั้ง 2 ข้างเหนือศีรษะ
เส้น 78 ⟶ 79:
* [http://www.elib-online.com/doctors3/cancer_breast10.html มะเร็งเต้านม ภัยคุกคามที่ สตรีไทยไม่ควรมองข้าม]
 
[[หมวดหมู่:มะเร็งเต้านม| ]]
[[หมวดหมู่:โรค|มะเร็งเต้านม]]
{{โครงแพทย์}}