ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความร้อนแฝงจำเพาะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AlphamaBot (คุย | ส่วนร่วม)
Alphama Tool
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เก็บกวาด}}
เมื่อสารได้รับความร้อนขณะที่มีการเปลี่ยนสถานะ อุณหภูมิของสารจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดๆ โดยจะนำความร้อนที่ได้มาใช้ในการเปลี่ยนสถานะ
{{สั้นมาก}}
ซึ่งเรียกพลังงานที่นำมาเปลี่ยนแปลงสถานะของสารนี้ว่า "ความร้อนแฝงจำเพาะของสาร" สารแต่ละชนิดมีค่าความร้อนแฝงจำเพาะอยู่ 2 ค่าด้วยกัน คือ
ความร้อนแฝงจำเพาะ (Specific Latent Heat = L) หมายถึง ปริมาณความร้อนที่ทำให้วัตถุมวล 1 หน่วย เปลี่ยนสถานะให้หมดพอดี โดยอุณหภูมิไม่เปลี่ยน
1.ค่าความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลว คือ ค่าพลังงานความร้อนที่นำมาเปลี่ยนสถานะของสารจากของแข็งเป็นของเหลว
2.ค่าความร้อนแฝงจำเพาะของการกลายเป็นไอ คือ ค่าพลังงานความร้อนที่นำมาเปลี่ยนสถานะของสารจากของเหลวเป็นไอ
 
Q = mL ถ้าให้ Q = ปริมาณความร้อน m = มวลของวัตถุที่เปลี่ยนสถานะไป DT = อุณหภูมิเปลี่ยนไปของวัตถุ
 
;ความร้อนที่ทำให้สารเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นของเหลวโดยอุณหภูมิไม่เปลี่ยนแปลง เรียกว่า "ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว"
 
;ความร้อนที่ทำให้สารเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นไอโดยอุณหภูมิไม่เปลี่ยนแปลง เรียกว่า "ความร้นแฝงของกลายเป็นไอ"
 
 
 
ประโยชน์ของการเปลี่ยนสถานะของสารในปัจจุบัน
 
1.การทำน้ำให้กลายเป็นไอ เพื่อให้พลังงานไอน้ำมาหมุนมอเตอร์ เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า
 
2.การถนอมอาหารโดยวิธีการตากแห้ง
 
3.การระเหยของเหงื่อช่วยระบายความร้อนในร่างกาย
 
[[หมวดหมู่:อุณหเคมี]]