ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไตรจีวร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
PanyaPangya (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
 
[[ไฟล์:Buddhism in Belgium.JPG|thumb|250px|พระภิกษุในพระพุทธศาสนามีการนุ่งห่มจีวรด้วยสีต่างๆ ตามคติและวินัยในแต่ละนิกาย]]
'''ไตรจีวร''' หรือคือ '''ผ้าจีวร ๓ ผืน''' คนไทยเรียกสั้นๆ ว่า '''ผ้าไตร''' เป็นชื่อเรียกผ้านุ่งผ้าห่มที่[[พระสงฆ์]]ใช้สอย หมายถึงผ้า 3 ผืน ซึ่งมีทั้งผ้านุ่งและผ้าห่ม อันได้แก่ สังฆาฏิ (ผ้าพาดบ่า) อุตราสงฆ์อุตตราสงค์ (ผ้าจีวรสำหรับห่ม) และอันตรวาสก (ผ้าสบงสำหรับนุ่ง) แต่นิยมเรียกรวมกันว่า '''ไตรจีวร''' โดย ไตรจีวรเป็น[[ปัจจัย]]หรือ[[บริขาร]]ของพระสงฆ์อย่างหนึ่งในจำนวน 8 อย่าง
 
นอกจากนี้ยังมีอีกคำหนึ่งที่ใช้เรียกไตรจีวรทั้งนิกาย[[เถรวาท]]และ[[มหายาน]]คือคำว่า '''กาสาวะ กาสายะ''' หรือ '''กาษายะกาสาวะ''' ({{lang-pi|kasāva kasāya }} ''กาสาว กาสาย''; {{lang-sa|काषाय kāṣāya}} ''กาษาย''; {{zh-all|t=袈裟|s=袈裟|p=jiāshā}}; {{nihongo|袈裟||kesa}}; {{เกาหลี|가사|ฮันจา=袈裟|MC2000=gasa|MR=}}; {{lang-vi|cà-sa}}) ซึ่งหมายเอาตามชื่อสีที่ใช้ย้อมทำจีวรเป็นหลัก โดยผ้ากาสาวะ หมายถึงผ้าย้อมด้วยน้ำฝาด ซึ่งก็คือผ้าไตรจีวรทั้งสามผืนนั่นเอง
 
== ความเป็นมาของจีวร ==
ในสมัยพุทธกาล เมื่อครั้งเจ้าชายสิทธัตถะออกผนวช ก็มีหลักฐานกล่าวว่าเจ้าชายสิทธัตถะได้ ทรงใช้ผ้านุ่งห่มที่เรียกว่าจีวร แต่ในช่วงต้นพุทธกาล พระภิกษุยังคงใช้ผ้าที่หาได้มาเย็บต่อต่อๆกัน ไม่เป็นระเบียบ หรือบางครั้งภิกษุบางรูปได้รับถวายผ้าอย่างดีจากคหบดีก็มีการถูกลักขโมยบ่อยครั้ง เนื่องด้วยผ้าเป็นสิ่งที่หายากในสมัยพุทธกาล
 
=== ลายคันนาบนจีวร ===
[[ไฟล์:Central Asian Buddhist Monks.jpeg|170px|thumb|left|จิตรกรรมรูปพระภิกษุจีนและพระภิกษุชาวเอเชียกลาง สมัยพุทธศตวรรษที่ 14-15 โปรดสังเกตลวดลายของจีวร ซึ่งเป็นลายสี่เหลี่ยมเลียนแบบลายตารางคันนา อันเป็นเอกลักษณ์ของจีวรในพุทธศาสนาทุกนิกาย ไม่ว่าจะทำด้วยวัสดุใดและเป็นสีใดก็ตาม]]
{{พุทธศาสนา}}
จนต่อมาพระพุทธเจ้าได้ทอดพระเนตรนาของชาวมคธ จึงได้มีพระพุทธทรงดำริให้ตัดผ้าจีวร เป็นสี่เหลี่ยมผืนเล็กๆ มาต่อกัน จึงมีลักษณะเป็นผ้าที่เศร้าหมอง คือผู้อื่นมักไม่ต้องการไปตัดเย็บอีก เหมาะสมกับสมณะ ผ้าสี่เหลี่ยมผืนเล็กๆ ที่เย็บต่อกันนั้น ปรากฏลวดลายเป็นลายคันนา ออกแบบโดย[[พระอานนท์]] ดังปรากฏข้อความใน[[พระวินัยปิฎก]] ว่า
 
"''อานนท์ เธอเห็นนาของชาวมคธ ซึ่งเขาพูนดิน ขึ้นเป็นคันนาสี่เหลี่ยม พูนคันนายาวทั้งด้านยาวและด้านกว้าง พูนคันนาคั่นในระหว่างๆ ด้วยคันนาสั้นๆ พูนคันนาเชื่อมกันทาง 4 แพร่ง ตามที่ซึ่ง คันนากับคันนา ผ่านตัดกันไปหรือไม่? ... เธอสามารถแต่งจีวรของภิกษุทั้งหลาย ให้มีรูปอย่างนั้นได้หรือไม่?''"
 
พระอานนท์ตอบว่า "''สามารถ พระพุทธเจ้าข้า.''"
บรรทัด 22:
"''ขอพระผู้มีพระภาคจงทอดพระเนตรจีวรที่ข้าพระพุทธเจ้าแต่งแล้ว พระพุทธเจ้าข้า.''"
 
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมิกถาธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า
 
"''ดูกรภิกษุทั้งหลาย อานนท์เป็นคนฉลาด อานนท์ได้ซาบซึ้ง ถึงเนื้อความแห่งถ้อยคำที่เรากล่าวย่อ ได้โดยกว้างขวาง ...จีวรจักเป็นผ้าที่ตัดแล้ว เศร้าหมองด้วยศัสตรา สมควรแก่สมณะ และพวกศัตรูไม่ต้องการ''"
 
=== ไตรจีวร ===
บรรทัด 32:
ต่อมาทรงอนุญาต '''ไตรจีวร''' คือ ผ้าสังฆาฏิสองชั้น จีวร และสบง ทั้งนี้เพื่อให้พระสงฆ์ ใช้ป้องกันความหนาวเย็น และรับสั่งว่า ภิกษุไม่พึงมีจีวรมากกว่านี้ (รูปใดมีมากกว่านี้ เป็นอาบัติ)
 
'''อติเรกจีวร''' คือ จีวรที่มีเกินกว่าผ้าที่อธิษฐานเป็นไตรจีวร ตามพระวินัย ภิกษุสามารถเก็บไว้ได้ไม่เกิน 10 วัน และสามารถทำเป็น '''วิกัปอติเรกจีวร''' คือ ทำให้เป็นสองจีวรที่มี 2 เจ้าของ เพื่อจะได้ไม่ต้องอาบัติ เพราะเก็บไว้เกินกำหนด
 
ความเป็นมาของเรื่องอติเรกจีวรนี้ เนื่องจากมีผู้ถวายจีวรแก่พระอานนท์ แล้วท่านประสงค์จะเก็บไว้ ถวาย[[พระสารีบุตร]] ซึ่งขณะนั้นอยู่ต่างเมือง ประมาณ 10 วัน จึงจะเดินทางมาถึง พระอานนท์ได้เข้าไป ทูลถามพระพุทธองค์ว่า จะปฏิบัติอย่างไร กับอติเรกจีวรดี จึงทรงมีพุทธบัญญัติ ให้เก็บรักษาอติเรกจีวร ไว้ได้ไม่เกิน 10 วัน
บรรทัด 48:
ในพระวินัยปิฎก มหาวรรค ภาค 2 บันทึกว่า แต่เดิมนั้นพระภิกษุย้อมสีจีวรต่างกันไป พระโคตมพุทธเจ้าจึงตรัสว่า<ref>{{citeweb|title=พระไตรปิฎก ฉบับบาลีสยามรัฐ (ภาษาไทย) เล่มที่ ๕ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๕ มหาวรรค ภาค ๒|url=http://www.etipitaka.com/compare?lang1=thai&lang2=pali&p1=158&p2=201&volume=5|publisher=โปรแกรมตรวจหาและเทียบเคียงพุทธวจน|date=ม.ป.ป.|accessdate=2556-01-16}}</ref>
 
<blockquote>"ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตน้ำย้อม 6 อย่าง คือ น้ำย้อมเกิดแต่รากหรือเหง้า 1 น้ำย้อมเกิดแต่ต้นไม้ 1 น้ำย้อมเกิดแต่เปลือกไม้ 1 น้ำย้อมเกิดแต่ใบไม้ 1 น้ำย้อมเกิดแต่ดอกไม้ 1 น้ำย้อมเกิดแต่ผลไม้ 1"</blockquote>
 
ส่วนสีที่ทรงห้ามมี 7 สี คือ สีเขียวครามเหมือนดอกผักตบชวา, สีเหลืองเหมือนดอกกรรณิการ์, สีแดงเหมือนชบา, สีหงสบาท (สีแดงกับเหลืองปนกัน), สีดำเหมือนลูกประคำดีควาย, สีแดงเข้มเหมือนหลังตะขาบ และสีแดงกลายแดงผสมคล้ายใบไม้แก่ใกล้ร่วงเหมือนสีดอกบัว<ref name = "pyo">{{citeweb|title=ทำไมสีจีวรของพระจึงต่างกัน เพราะอะไร|url=http://pyo.onab.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=228:2009-09-15-23-00-11&catid=41:2008-10-29-14-40-50&Itemid=100|publisher=สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดพะเยา|date=ม.ป.ป.|accessdate=2556-01-16}}</ref>
 
บางแห่งระบุว่า สีต้องห้าม คือ สีดำ สีคราม สีเหลือง สีแดง สีบานเย็น สีแสด และสีชมพู<ref name = "pyo"/>
== กาษายะกาสาวะของพุทธศาสนายุคแรก ==
 
การครองจีวร หรือ กาษายะกาสาวะในช่วงพุทธศาสนายุคแรก หรือในยุคที่พุทธศาสนายังรุ่งเรืองในอินเดีย (Indian Buddhism) มีความแตกต่างหลากหลายไปตามคณะนิกายต่างๆ ความแตกต่างนี้ไม่เพียงสื่อถึงสำนักนิกายในสังกัดเท่านั้น แต่ยังสื่อถึงความแตกต่างในพระวินัยอีกด้วย ระหว่างปี ค.ศ. 148 - 170 อันซื่อเกา (安世高) พระภิกษุชาวปาร์เตีย (Parthia) จาริกมาถึงแผ่นดินจีนในสมัยราชวงศ์ฮั่น เพื่อเผยแผ่พระพุทธศาสนา ท่าน ได้แปลปกรณ์วิเศษเกี่ยวกับการครองผ้า และสีสันจีวรของ 5 นิกายหลักของพุทธศาสนาในอินเดีย ปกรณ์วิเศษที่ว่านี้มีชื่อว่า "มหาภิกษุเสขิยะวัตรขิยวัตร 3,000 ประการ" (大比丘三千威儀) อีกปกรณ์ที่พรรณนาถึงการครองผ้าและสีจีวรในลักษณะเดียวกันคือคัมภีร์ศาริปุตรปริปฤจฉา ข้อแตกต่างระหว่าง 2 คัมภีร์ก็คือ สีจีวรของนิกายสรวาสติวาทกับนิกายธรรมคุปตกะสลับกัน
 
== กาษายะของพุทธศาสนายุคแรก ==
 
การครองจีวร หรือ กาษายะในช่วงพุทธศาสนายุคแรก หรือในยุคที่พุทธศาสนายังรุ่งเรืองในอินเดีย (Indian Buddhism) มีความแตกต่างหลากหลายไปตามคณะนิกายต่างๆ ความแตกต่างนี้ไม่เพียงสื่อถึงสำนักนิกายในสังกัดเท่านั้น แต่ยังสื่อถึงความแตกต่างในพระวินัยอีกด้วย ระหว่างปี ค.ศ. 148 - 170 อันซื่อเกา (安世高) พระภิกษุชาวปาร์เตีย (Parthia) จาริกมาถึงแผ่นดินจีนในสมัยราชวงศ์ฮั่น เพื่อเผยแผ่พระพุทธศาสนา ท่าน ได้แปลปกรณ์วิเศษเกี่ยวกับการครองผ้า และสีสันจีวรของ 5 นิกายหลักของพุทธศาสนาในอินเดีย ปกรณ์วิเศษที่ว่านี้มีชื่อว่า "มหาภิกษุเสขิยะวัตร 3,000 ประการ" (大比丘三千威儀) อีกปกรณ์ที่พรรณนาถึงการครองผ้าและสีจีวรในลักษณะเดียวกันคือคัมภีร์ศาริปุตรปริปฤจฉา ข้อแตกต่างระหว่าง 2 คัมภีร์ก็คือ สีจีวรของนิกายสรวาสติวาทกับนิกายธรรมคุปตกะสลับกัน
 
 
{| class="wikitable"
|-
! นิกาย !! มหาภิกษุเสขิยะวัตรขิยวัตร !! ศาริปุตรปริจจฉา
|-
| สรวาสติวาท || แดงเข้ม || ดำ
เส้น 70 ⟶ 67:
| มหาสังฆิกะ || เหลือง || เหลือง
|-
| มะหีศาสกะมหีศาสกะ || น้ำเงิน || น้ำเงิน
|-
| กาศยะปียะศยปียะ || สีจำปา || สีจำปา
|}
 
== กาษายะกาสาวะของพุทธศาสนามหายาน ==
 
 
'''กาสาวะในจีน''' พุทธจักรในจีน เรียกจีวร หรือผ้ากาษายะกาสาวะว่า "เจียซา" (袈裟) ในสำเนียงมาตรฐานปัจจุบัน แต่ในสำเนียงจีนโบราณออกเสียงว่า "เกียซา" หรือ "กาซา" ในช่วงแรกที่พุทธศาสนาเผยแผ่เข้าสู่แผ่นดินจีนนั้น พระภิกษุครองจีวรสีแดงเป็นหลัก แต่ต่อมาคณะนิกายมีความแตกต่างหลากหมายมากขึ้นสีสันจึงมีความแตกต่างมากขึ้น ดังเช่นคณะนิกายในอินเดีย อย่างไรก็ตาม ในกรณีของจีนนั้น สีของกาษายะกาสาวะมักแตกต่างกันโดยขึ้นอยู่กับเงื่อนไขทางภูมิศาสตร์ของพื้นที่ต่างๆ เป็นสำคัญ มากกว่าที่จะใช้แยกแยะความแตกต่างระหว่างคณะนิกาย โดยในแถบเจียงหนาน ทางภาคใต้ มักครองสีดำเข้ม ขณะที่แถบไคเฟิง ทางภาคกลางมักครองสีกรัก เป็นต้น
'''กาษายะในจีน'''
พุทธจักรในจีน เรียกจีวร หรือผ้ากาษายะว่า "เจียซา" (袈裟) ในสำเนียงมาตรฐานปัจจุบัน แต่ในสำเนียงจีนโบราณออกเสียงว่า "เกียซา" หรือ "กาซา" ในช่วงแรกที่พุทธศาสนาเผยแผ่เข้าสู่แผ่นดินจีนนั้น พระภิกษุครองจีวรสีแดงเป็นหลัก แต่ต่อมาคณะนิกายมีความแตกต่างหลากหมายมากขึ้นสีสันจึงมีความแตกต่างมากขึ้นดังเช่นคณะนิกายในอินเดีย อย่างไรก็ตาม ในกรณีของจีนนั้น สีของกาษายะมักแตกต่างกันโดยขึ้นอยู่กับเงื่อนไขทางภูมิศาสตร์ของพื้นที่ต่างๆ เป็นสำคัญ มากกว่าที่จะใช้แยกแยะความแตกต่างระหว่างคณะนิกาย โดยในแถบเจียงหนาน ทางภาคใต้ มักครองสีดำเข้ม ขณะที่แถบไคเฟิง ทางภาคกลางมักครองสีกรัก เป็นต้น
 
ในเวลาต่อมาสายการอุปสมบทในจีนเหลือเพียงสายที่อิงกับพระวินัยของนิกายธรรมคุปตกะเท่านั้น ดังนั้นความแตกต่างระหว่างสีกาษายะกาสาวะกับคณะนิกายจึงไม่มีความจำเป็นอีกต่อไป โดยเหตุนี้ในสมัยราชวงศ์ถังเป็นต้นมา พระภิกษุในจีนมักครองกาษายะกาสาวะสีเทาเหลือบดำ ผู้คนจึงเรียกพระภิกษุว่า "จืออี" (緇衣) หรือผู้ห่มผ้าดำ ซึ่งเป็นสีกาษายะกาสาวะของนิกายธรรมคุปตกะนั่นเอง
 
นอกจากสีดำแล้ว ในสมัยราชวงศ์ถังยังมีธรรมเนียมการถวายจีวรสีม่วงให้กับพระภิกษุสงฆ์ผู้ประกอบด้วยคุณงามความดีอันยอดยิ่ง โดยธรรมเนียมนี้มีที่มาจากตำนานเล่าขานเกี่ยวกับพระศาณะวาสิน ศิษย์ของพระอานนท์ ที่ถือกำเนิดมาพร้อมกับจีวร ต่อมาในแผ่นดินจีนมีเรื่องราวคล้ายคลึงกัน โดยพระภิกษุรุปหนึ่ง นามว่า ฮุ่ยเหลิง (慧稜) ถือกำเนิดมาพร้อมกับจีวรเช่นกัน แต่เป็นจีวรสีม่วง ประจวบเหมาะกับสีม่วงเป็นสีเครื่องแบบของขุนนางชั้นสูง ด้วยเหตุนี้ ตามธรรมเนียมจีนกาษายะกาสาวะม่วงจึงไม่เพียงแต่เป็นสัญลักษณ์ของการเกิดมาเพื่อดดำรงสมณะเพศแต่กำเนิดเท่านั้น ยังหมายถึงสมณะผู้มีคุณงามความดีความอันโดดเด่นด้วย ซึ่งการถวายจีวรสีม่วงแก่พระเถระ เกิดขึ้นครั้งแรกในรัชสมัยของพระนางเจ้าอู๋เจ๋อเทียน หรือพระนางบูเช็กเทียน ในสมัยราชวงศ์ถัง
 
อย่างไรก็ตาม พระภิกษุที่เคร่งครัดในสมัยราชวงศ์ถังไม่ยินดีนักกับการครองกาษายะกาสาวะม่วง อันเป็นสัญลักษณ์ที่ยังข้องอยู่กับทางโลก กระนั้นก็ตาม เมื่อถึงสมัยราชวงศ์ซ่ง ทางการขาดแคลนรายได้อย่างหนัก ถึงกับประกาศขายกาษายะกาสาวะสีม่วง (หรือนัยหนึ่งคือสมณะศักดิ์) แก่พระภิกษุ หรือผู้ที่ปรารถนาจะซื้อแล้วถวายแก่พระภิกษุ ตราบนั้นเป็นต้นมา กาษายะกาสาวะสีม่วงจึงกลายเป็นสัญญลักษณ์ของความเสื่อมโทรมของพุทธจักร
 
'''กาษายะกาสาวะในเกาหลี'''
พุทธจักรในเกาหลีเรียกจีวรว่า กาซา หรือ คาซา (อักษรฮันจา 袈裟 อักษรฮันกึล 가사) นับตั้งแต่พุทธศาสนาเผยแพร่เข้าสู่คาบสมุทรเกาหลี การครองจีวรส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลจากจีน ซึ่งแตกต่างไปตามนานานิกาย อย่างไรก็ตามนับตั้งแต่ราชวงศ์โชซอน (1392–1910) เป็นต้นมา ภิกษุส่วนใหญ่ครองกาษายะกาสาวะสีเทาครองสังฆาติสีแดง ต่อมาหลังการปฏิรูปพุทธศาสนาครั้งใหญ่ระหว่างปี 1947 - 1962 พุทธจักรในเกาหลีแยกเป็น 2 นิกาย คือนิกายแทโก (อักษรฮันจา 太古宗 อักษรฮันกึล 태고종) ซึ่งครองอุตราสงค์สีเทา หรือสีน้ำเงิน สังฆาฏิสีแดง ขณะที่นิกายโชเก (อักษรฮันจา 曹溪宗 อักษรฮันกึล 조계종) ครองอุตราสงค์สีเทา หรือสีน้ำเงิน สังฆาฏิสีกรัก
 
'''กาษายะกาสาวะในญี่ปุ่น'''
พุทธจักรในญี่ปุ่นเรียกกาษายะกาสาวะว่า เกสะ (袈裟) นับแต่พุทธศาสนาเผยแพร่เข้าสู่ดินแดนนี้ ลักษณะการครองและสีสันของผ้าแตกต่างกันไปตามนิกายที่มีอยู่หลากหลาย อีกทั้งยังมีการจำแนกแยกย่อยกาษายะกาสาวะตามคุณลักษณะการใช้งาน เช่นการครองผ้าตามวัตรปฏิบัติในชีวิตประจำวัน และการครองผ้าสำหรับงานพิธีกรรม อย่างน้อยมีการแบ่งกาษายะกาสาวะตามลักษณะต่างๆ ดังที่ว่านี้ ด้วยชื่อเรียกถึง 20 ชื่อ นอกจากนี้ ยังมี "วะเกสะ" หรือกาษายะกาสาวะครึ่งแบบ และ "ฮังเกสะ" หรือกาษายะกาสาวะเล็ก สำหรับอุบาสกผู้รับศีล
 
อย่างไรก็ตาม แม้จะมีความหลากหลาย แต่ส่วนใหญ่แล้วมักครองผ้าสีดำหรือสีเทาในยามปกติ นอกจากนี้ ยังรับธรรมเนียมการถวายกาษายะกาสาวะสีม่วงจากสมัยราชวงศ์ถังมาด้วย แต่ธรรมเนียมนี้ถูกยกเลิกไปในศตวรรษที่ 17 ในรัชสมัยโชกุนตระกูลโทะกุงะวะ การประกาศยกเลิกธรรมเนียมยังผลให้พระจักพรรดิทรงขัดเคืองพระทัยอย่างหนัก ถึงกับทรงสละราชสมบัติ เมื่อพระราชาคณะชั้นสูงประท้วงคำสั่งและไม่กระทำการตามประกาศ ภายหลังเหตุการณ์ที่เป็นข้อขัดแย้งสิ้นสุด พระภิกษุส่วนหนึ่งได้ถูกทางการเนรเทศ
 
'''กาษายะกาสาวะในเวียดนาม'''
พุทธจักรในเวียดนามครองกาษายะกาสาวะ หรือ กาสะ (cà-sa) ใกล้เคียงกับในจีน มีสีเหลือง สีส้ม สีกรัก สีแดง
 
'''กาษายะกาสาวะในทิเบต'''
พุทธจักรในทิเบตถือตามพระวินัยของนิกายมูลสรวาสติวาท กาษายะกาสาวะส่วนใหญ่ของคณะนิกายต่างๆ ในทิเบตจึงมีสีแดงตามนิกายมูลสรวาสติวาท แต่ส่วนประกอบอื่นๆ มีรายละเอียดปลีกย่อยแตกต่างกันไปตามแต่ละนิกาย
 
== ตัวอย่างการห่มจีวร ==