ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Good dharma (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขเล็กน้อย
Good dharma (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความ
บรรทัด 3:
| en_name = Faculty of Engineering and Industrial Technology, Silpakorn University
| image = [[ไฟล์:SU En-Tech Logo01.jpg|200px]]
| establish_date = [[พ.ศ. 2535]]
| type_headman = คณบดี
| headman = [[นิติพงศ์ โสภณพงศ์พิพัฒน์|ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิติพงศ์ โสภณพงศ์พิพัฒน์]] (ผู้รักษาการแทนคณบดี)
| color = {{color box|Crimson}} [[สีแดง|สีแดงเลือดนก]]
| symbol = [[พระพิฆเนศ]] อยู่ตรงกลาง มีฟันเฟือง และ Electron อยู่บน Orbital
| address = '''คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร''' เลขที่ 6 ถนนราชมรรคาใน ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 73000
| magazine =
| operate_site =
บรรทัด 18:
 
== ประวัติ ==
คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (ชื่อเดิมคือ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้มีการจัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมใน[[มหาวิทยาลัยศิลปากร]] [[สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)|ทบวงมหาวิทยาลัย]] พ.ศ. 2534 โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 108 ตอนที่ 193 ลงวันที่ 6 พฤศจิกายน 2534<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2534/A/193/24.PDF พระราชกฤษฎีกา จัดตั้งคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมในมหาวิทยาลัยศิลปากร ทบวงมหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๓๔], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๐๘ ตอนที่ ๑๙๓ ฉบับพิเศษ หน้า ๒๔ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๓๔</ref> และได้มีพิธีวางศิลาฤกษ์ในวันพฤหัสบดีที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2539 คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จัดตั้งขึ้นเพื่อสนองนโยบายของรัฐในการที่จะผลิตบุคลากรด้านเทคโนโลยี อันเป็นผลมาจากการขยายตัวด้านอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็วในช่วงปี 2530 เป็นต้นมา มหาวิทยาลัยได้มีนโยบายเปิดคณะวิชาใหม่ ที่คำนึงถึงความต้องการของสังคมและตลาดแรงงาน โดยสอดคล้องกับการพัฒนาอุตสาหกรรมของภูมิภาคตะวันตก จึงมี นโยบายจัดตั้งคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมขึ้น ปัจจุบันได้เปลี่ยนชื่อเป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
 
คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ได้เปิดรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีรุ่นแรก จำนวน 65 คน เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2535 โดยแยกเข้าศึกษาใน 3 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาปิโตรเคมีและวัสดุพอลิเมอร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร และสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ สาขาวิชาละประมาณ 20 คน ปัจจุบันคณะฯ ได้เปิดสอนในระดับปริญญาตรี สาขาวิชาปิโตรเคมีและวัสดุพอลิเมอร์ สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี สาขาวิชาวิศวกรรมการจัดการและโลจิสติกส์ สาขาวิชาวัสดุขั้นสูงและนาโนเทคโนโลยี สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และระบบคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาวิศวกรรมกระบวนการชีวภาพ สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ และสาขาวิชาธุรกิจวิศวกรรม ในระดับปริญญาโท สาขาวิชาวิทยาการและวิศวกรรมพอลิเมอร์ สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี สาขาวิชาการจัดการงานวิศวกรรม สาขาวิชาวิศวกรรมพลังงาน สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร และสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ ในระดับปริญญาเอก สาขาวิชาวิทยาการและวิศวกรรมพอลิเมอร์ (หลักสูตรนานาชาติ) สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ สาขาวิชาวิศวกรรมพลังงาน และสาขาวิชาวิศวกรรมเคมี
บรรทัด 86:
|<center>1</center>
| align = "left"| [[อำนาจ สิทธัตตระกูล|อาจารย์ ดร.อำนาจ สิทธัตตระกูล]]
| คณบดีโครงการจัดตั้งคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม [[1 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2533]] - [[21 เมษายน]] [[พ.ศ. 2535]] <br /> [[22 เมษายน]] [[พ.ศ. 2535]] - [[21 เมษายน]] [[พ.ศ. 2539]] <br /> [[22 เมษายน]] [[พ.ศ. 2539]] - [[21 เมษายน]] [[พ.ศ. 2543]] <br /> รักษาการในตำแหน่งคณบดี [[22 เมษายน]] [[พ.ศ. 2543]] - [[1 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2543]]
|-
|<center>2</center>
| align = "left"| [[พิทยา หลิวเสรี|ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทยา หลิวเสรี]]
| รักษาการในตำแหน่งคณบดี [[2 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2543]] - [[11 มกราคม]] [[พ.ศ. 2544]] <br /> รักษาการในตำแหน่งคณบดี [[15 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2548]] - [[11 มกราคม]] [[พ.ศ. 2549]] <br /> [[12 มกราคม]] [[พ.ศ. 2549]] - [[11 มกราคม]] [[พ.ศ. 2553]]
|-
|<center>3</center>
| align = "left"| [[ปิยะสาร ประเสริฐธรรม|ศาสตราจารย์ ดร.ปิยะสาร ประเสริฐธรรม]]
| [[11 มกราคม]] [[พ.ศ. 2544]] - [[28 มกราคม]] [[พ.ศ. 2546]] <br /> รักษาการในตำแหน่งคณบดี [[29 มกราคม]] [[พ.ศ. 2546]] - [[9 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2546]]
|-
|<center>4</center>
| align = "left"| [[ปาน พิมพา|ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปาน พิมพา]]
| [[10 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2546]] - [[14 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2548]]
|-
|<center>5</center>
| align = "left"| [[เจษฎาวรรณ วิจิตรเวชการ|ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เจษฎาวรรณ วิจิตรเวชการ]]
| [[12 มกราคม]] [[พ.ศ. 2553]] - [[11 มกราคม]] [[พ.ศ. 2557]]
|-
|<center>6</center>
| align = "left"| [[ปาเจรา พัฒนถาบุตร|ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปาเจรา พัฒนถาบุตร]]
| [[12 มกราคม]] [[พ.ศ. 2557]] - [[17 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2560]] (ลาออก)
|-
|<center>7</center>
| align = "left"| [[นิติพงศ์ โสภณพงศ์พิพัฒน์|ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิติพงศ์ โสภณพงศ์พิพัฒน์]]
| รักษาการแทนคณบดี [[18 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2560]] - ปัจจุบัน
|-
|}
บรรทัด 122:
** ลานเชียร์ บริเวณทางเข้าคณะด้านใต้ ซึ่งเป็นบริเวณที่เหล่าสมาชิกชมรมเชียร์ของคณะเข้ามาทำกิจกรรมในยามค่ำคืน
** สระเกียร์ และบริเวณสวนหย่อม เป็นสระน้ำภายในคณะ เพื่อความร่มรื่นและใช้เป็นที่พักผ่อนของนักศึกษา
** ลานใต้คณะ สถานที่รวมตัวของนักศึกษา เป็นที่ตั้งของสโมสรนักศึกษาและเป็นลานกิจกรรมในหลาย ๆ โอกาส ทั้งยังถือเป็นส่วนบริการอาหารของคณะอีกด้วย <br />
 
* '''เพลงประจำคณะ'''
"เพลงเลือดนก" เป็นเพลงที่มีชื่อเดียวกันกับสีประจำคณะ โดยได้ถูกแต่งเนื้อร้องและทำนองขึ้นตั้งแต่เริ่มก่อตั้งคณะของนักศึกษาในสมัยนั้น และด้วยความช่วยเหลือของนักศึกษา[[คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะอักษรศาสตร์]] จึงทำให้เป็นเพลงที่มีความไพเราะ แสดงถึงความมุ่งมั่นในจุดหมาย ความสมานสามัคคีได้อย่างดี อีกทั้งยังมีท่าประกอบการร้องที่เป็นเอกลักษณ์ ทำให้เป็นที่จดจำได้ดียิ่งขึ้นถึงแม้เนื้อเพลงยังคงไม่มีการเปลี่ยนแปลง และชื่อคณะในเพลงยังคงเป็น "เทคโนโลยีอุตสาหกรรม" เช่นเดิม แต่นักศึกษาก็ยังคงนำเพลงนี้เป็นเพลงประจำคณะ ด้วยเข้าใจว่าชื่อนั้นไม่สำคัญเท่าความหมายและอุดมการณ์ที่มีมา ถึงแม้จะมีเพลงอีกจำนวนมากมายที่เกิดขึ้น แต่เพลงประจำคณะก็ย่อมมีเพียงเพลงเดียว <br />
 
* '''กิจกรรมนักศึกษา'''
บรรทัด 135:
** กิจกรรมขอบคุณรุ่นพี่
** กิจกรรมอำลารุ่นพี่ปี 4
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[มหาวิทยาลัยศิลปากร]]
* [[รายชื่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ในประเทศไทย]]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==