ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วันลอยกระทง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 18:
== ประเพณีในแต่ละท้องถิ่น ==
[[ไฟล์:Chiang Mai, Yi Peng Festival 1.jpg|thumb|200px|โคมลอย]]
* [[ภาคเหนือ]]ตอนบน นิยมทำ[[โคมลอย]] เรียกว่า "ลอยโคม" หรือ "ว่าวลม" หรือ "ว่าวไฟ" ทำจากผ้าบางๆกกกกกกงๆ แล้วสุมควันข้างใต้ให้ลอยขึ้นไปในอากาศอย่าง[[บัลลูน]]ประเพณีของชาวเหนือนี้เรียกว่า '''[[ยี่เป็ง]]''' หมายถึงการทำบุญในวันเพ็ญเดือนยี่(ซึ่งนับวันตามแบบล้านนา ตรงกับวันเพ็ญเดือนสิบสองในแบบไทย)หรือโคมลอยบนน้ำรูปทร
* ต่างๆ
** [[จังหวัดเชียงใหม่]] มีประเพณี"ยี่เป็ง"เชียงใหม่ ในทุกๆปีจะมีการจัดงานขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ตระการตา และมีการปล่อยโคมลอยขึ้นเต็มท้องฟ้า
** [[จังหวัดตาก]] จะลอยกระทงขนาดเล็กทยอยเรียงรายไปเป็นสาย เรียกว่า "กระทงสาย"
** [[จังหวัดสุโขทัย]] ขบวนแห่โคมชักโคมแขวน การเล่นพลุตะไล ไฟพะเนียง
* [[ภาคอีสาน]] ในอดีตมีการเรียกประเพณีลอยกระทงในภาคอีสานว่า '''สิบสองเพ็ง''' หมายถึงวันเพ็ญเดือนสิบสองซึ่งจะจกกกะมีเอกลักษณ์แตกต่างกันออกไป เช่น
**[[จังหวัดร้อยเอ็ด]] ถือเป็นตัวแทนจัดงานลอยกระทงของภาคอีสาน ใหญ่ที่สุดในภาคอีสาน โดยมีชื่องานประเพณีว่ากกกกกกกกกกกกกกกกกกกกณีว่า " สมมาน้ำคืนเพ็ง เส็งประทีป " ตามภาษาถิ่นมีความหมายถึงการขอขมาพระแม่คงคา ในคืนวันเพ็ญเดือนสิบสอง ความพิเศษของงานมีการแสดง แสงสีเสียง ตำนานเมืองร้อยเอ็ด จัดให้มีการตกแต่งบริเวณเกาะบึงพลาญชัย(สถานที่จัดงาน)ให้เป็นเกาะสวรรค์ ตกแต่งสวยงาม ยิ่งใหญ่ มีขบวนกระทงอาเซียน มีการประกวดกระทงประทีปใหญ่ ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การประกวดกระทงอนุรักษ์ธรรมชาติ การประกวดขบวนแห่กระทงประทีป 12 หัวเมือง ตามตำนานเมืองร้อยเอ็ด การประกวดรำวงสมมาน้ำคืนเพ็งเส็งประทีป การประกวดธิดาสาเกตนคร และกิจกรรมอื่นๆ อีกมากมาย นอกจากนี้จังหวัดร้อยเอ็ดยังได้รับโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ ทั้งสองพระองค์ ทรงพระราชทานพระประทีปส่วนพระองค์ ร่วมลงลอยในบึงพลาญชัยทุกปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542
**[[จังหวัดสกลนคร]] ในอดีตจะมีการลอยกระทงจากกาบกล้วย ลักษณะคล้ายกับการทำ[[ปราสาทผึ้ง]]โบราณ เรียกงานนี้ว่า[[เทศกาลลอยพระประทีปพระราชทาน สิบสองเพ็งไทสกล]]
* [[ภาคกลาง]] มีการจัดประเพณีลอยกระทงขึ้นทั่วทุกจังหวัด