ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชุทซ์ชตัฟเฟิล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 35:
|agency_type = [[กำลังกึ่งทหาร]]
|parent_agency = {{flagicon|Nazi Germany|Nazi}} [[พรรคนาซี|พรรคแรงงานสังคมนิยมแห่งชาติเยอรมัน]]
|child1_agency = ''[[อัลเกอมานอัลล์เกอไมเนอ เอ็สเอ็ส ]]''
|child2_agency = ''[[วัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส]]'' (''[[SS-Verfügungstruppe]]'')
|child3_agency = ''[[เอ็สเอ็ส-โทเทนคอฟเฟอร์แบนเดอ]]''
บรรทัด 45:
}}
{{นาซี}}
'''''ชุทซ์ชทัฟเฟิล''''' ({{lang-de|''Schutzstaffel''}} [[ไฟล์:Schutzstaffel SS SVG1.1.svg|16px|"ᛋᛋ" ที่เป็นอักษรรูน]]) หรือ '''''เอ็สเอ็ส''''' (SS) เป็นองค์กร[[กำลังกึ่งทหาร]]สังกัด[[พรรคนาซี]]ภายใต้คำสั่งของ[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] เดิมมีชื่อองค์กรว่า ''ซาล-ซุทซ์'' (''Saal-Schutz'') ซึ่งมีสมาชิกเป็นอาสาสมัครของพรรคนาซีเพื่อคุ้มกันและดูแลความปลอดภัยในการประชุมพรรคที่เมือง[[มิวนิก]] เมื่อ[[ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์]]เข้าร่วมองค์กรในปีค.ศ. 1925 ก็มีการเปลี่ยนชื่อหน่วยเป็น ''ชุทซ์ชทัฟเฟิล'' เอ็สเอ็สภายใต้การนำของฮิมเลอร์ได้ขยายตัวจากมีสมาชิกสองร้อยคนกลายเป็นองค์กรขนาดมหึมาที่มีสมาชิกกว่าล้านคนและกลายเป็นหนึ่งในองค์กรที่มีอิทธิพลที่สุดในเยอรมัน หน้าที่ขององค์กรนี้คือสอดส่องดูแลความมั่นคงภายในไรช์
'''ชุทซ์ชทัฟเฟิล''' ({{lang-de|''Schutzstaffel''}} หมายถึง "กองอารักขา" หรือ "เหล่าคุ้มกัน", ย่อเป็น SS หรือซิก ([[ไฟล์:Schutzstaffel SS SVG1.1.svg|16px|"ᛋᛋ" ที่เป็นอักษรรูน]]) ในอักษรรูนอาร์มาเนน ([[Armanen runes]]) เป็นองค์การ[[กำลังกึ่งทหาร|กึ่งทหาร]]หลักภายใต้[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]]และ[[พรรคนาซี]] ก่อตั้งขึ้นบนอุดมการณ์นาซี เอ็สเอ็สภายใต้บังคับบัญชาของ[[ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์]]มีส่วนรับผิดชอบต่อ[[อาชญากรรมต่อมนุษยชาติ]]หลายครั้งระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] หลัง ค.ศ. 1945 เอ็สเอ็สถูกกฎหมายต้องห้ามในเยอรมนี เช่นเดียวกับพรรคนาซี โดยถูกระบุว่าเป็นองค์กรอาชญากรรม
 
เอ็สเอ็สมีการแบ่งงานออกเป็นสองส่วนงานหลักๆ คือ ''[[อัลล์เกอไมเนอ เอ็สเอ็ส]]'' (เอ็สเอ็สธุรการ) รับผิดชอบด้านการบังคับใช้นโยบายต่างๆของพรรคนาซี และ ''[[วัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส]]'' (เอ็สเอ็สติดอาวุธ) เป็นกองกำลังติดอาวุธที่ไม่ขึ้นกับกองทัพ นอกจากนี้ยังมีส่วนงานอื่นอีก คือ ''[[เอ็สเอ็ส-โทเทนคอฟเฟอร์แบนเดอ]]'' (หน่วยหัวกะโหลกเอ็สเอ็ส) รับผิดชอบการดำเนินการ[[ค่ายมรณะ]]และ[[ค่ายกักกันนาซี]] เอ็สเอ็สยังมีหน่วยตำรวจลับที่เรียกว่า ''[[เกสตาโป]]'' กับหน่วยรักษาความปลอดภัยประจำ[[ฟือเรอร์]]ที่เรียกว่า ''[[ซีเชอร์ไฮท์สดีนสท์]]'' ที่คอยส่องหาบุคคลที่เป็นหรืออาจเป็นภัยคุกคามต่อรัฐนาซี ตลอดจนรับผิดชอบงานข่าวกรองทั้งในและต่างประเทศ
==ประวัติการก่อตั้ง==
เอ็สเอ็สก่อตั้งขึ้นใน ค.ศ. 1925 ภายใต้ชื่อ "ซาล-ชุทซ์" (อารักษ์หอประชุม) ตั้งใจให้เกิดความปลอดภัยแก่การประชุมของพรรคนาซี และเป็นหน่วยคุ้มกันส่วนบุคคลของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์<ref>Kogon, Eugen; Der SS-Staat; 1974</ref> แต่เนื่องจากช่วงแรกของการก้าวขึ้นสู่อำนาจทางการเมืองของฮิตแลอร์นั้นยังไม่ได้รับการสนับสนุนจากกองทัพเยอรมนีอย่างเต็มที่ ซึ่งตัวฮิตเลอร์เองก็ไม่ได้ไว้วางใจกองทัพเยอรมันว่า จงรักภักดีกับเขาอย่างเต็มที่หรือไม่ รวมทั้ง[[ชตูร์มับไทลุง]] (เอ็สเอ, "เสื้อน้ำตาล" หรือ "พลรบวายุ") ซึ่งเดิมนี้คือแหล่งชุมนุมของเหล่าทหารผ่านศึกใน[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] และ อดีตหน่วยเสรีเยอรมัน โดยมี[[ร้อยเอก]] [[แอนสท์ เริม]] เป็นผู้บังคับบัญชา
 
== ประวัติการก่อตั้ง ==
ต่อมา มีเหตุทำให้ฮิตเลอร์และฮิมม์เลอร์ร่วมมือกันกำจัดแอร์นสท์ เริม และหน่วยเอ็สเอ และตั้งซาล-ชุทซ์เป็นหน่วยคุ้มกันทดแทนหน่วยเอ็สเอภายใต้การนำของไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ระหว่าง ค.ศ. 1929 และ 1945 เอ็สเอ็สถูกเปลี่ยนชื่อเป็น "ชุทซ์ชทัฟเฟิล" และเติบโตขึ้นจากรูปแบบหน่วยกึ่งทหารขนาดเล็กเป็นหนึ่งในองค์การที่ใหญ่และทรงอำนาจที่สุดใน[[นาซีเยอรมนี]]
เอ็สเอ็สก่อตั้งขึ้นใน ค.ศ. 1925 ภายใต้ชื่อ "''ซาล-ชุทซ์''" (อารักษ์หอประชุม) เพื่อรักษาความปลอดภัยในการประชุมของพรรคนาซีตลอดจนเป็นหน่วยคุ้มกันส่วนบุคคลของฮิตเลอร์<ref>Kogon, Eugen; Der SS-Staat; 1974</ref> ต่อมาในปีค.ศ. 1933 ฮิตเลอร์ก้าวขึ้นสู่อำนาจพร้อมกับความเคลือบแคลงใจในความภักดีของกองทัพเยอรมันที่มีต่อเขา กองกำลังที่เขาไว้ใจได้อย่างเต็มร้อยและจะไม่มีวันทรยศเขาอย่างเอ็สเอ็สจึงเป็นสิ่งจำเป็นในการรักษาฐานอำนาจของฮิตเลอร์ อย่างไรก็ตาม พรรคนาซียังมีองค์กรติดอาวุธอีกองค์กรหนึ่งที่ชื่อว่า ''[[ชตูร์มับไทลุง]]'' อันเป็นแหล่งสุมหัวของอดีตทหารใน[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]ซึ่งนำโดย[[แอนสท์ เริม]] สหายเก่าแก่ผู้ร่วมก่อตั้งพรรคนาซี
 
แอนสท์ เริม มีความคิดที่จะสถาปนาเอ็สเอเป็นขั้วอำนาจทางการเมืองใหม่และเข้าควบคุม[[ไรชส์เวร์]] และเริมยังสนับสนุนแนวคิด "การปฏิวัติครั้งที่สอง" ในเยอรมัน ความคิดเช่นนี้ของเริมให้ประธานาธิบดี[[เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก|ฮินเดนบูร์ก]]กดดันฮิตเลอร์ให้ยุบเอ็สเอ ฮิตเลอร์พยายามเจรจากับ[[แอนสท์ เริม]] ให้ยุบหน่วยเอ็สเอโดยดีแต่ก็ไม่ได้รับความร่วมมือ จึงนำไปสู่การกวาดล้างเอ็สเอใน[[คืนมีดยาว]]ในสิ้นเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1934 เมื่อแอนสท์ เริม ถูกกำจัด ฮิตเลอร์ก็แต่งตั้งให้เอ็สเอ็สของ[[ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์|ฮิมม์เลอร์]]ทำหน้าที่คุ้มกันแทนเอ็สเอ
 
==การคัดเลือก==
การคัดเลือกทหารสมาชิกที่จะมาเข้าหน่วยเอ็สเอ็สจะต้องเป็นชายสายเลือดเยอรมันพันธุ์แท้แบบพวกอารยัน สูงอย่างน้อย 180 เซนติเมตร กำลังพลของเอ็สเอ็สจะได้รับการอบรม ปลูกฝังให้จงรักภักดีต่อผู้นำของเขาอย่างเหนียวแน่น และปราศจากการตั้งคำถามสงสัยใด ๆ ทั้งสิ้น ได้รับการฝึกฝนอย่างหนัก และถูกปลูกฝังอุดมการณ์ของนาซี ถูกปลูกฝังแนวความคิดเรื่องความเป็นเลิศของชนชาติอารยันเพื่อการสร้างชาติไปสู่[[นาซีเยอรมนี|ไรช์ที่สาม]] รวมทั้งมีการเกณฑ์เด็กชายและหญิงชาวเยอรมันทั้งหมดให้เข้าหน่วย[[ยุวชนฮิตเลอร์]]เพื่อเป็นหลักสูตรวิชาทหาร ให้เข้ารับการเป็นทหารและหน่วยเอ็สเอ็ส
 
== ดูเพิ่ม ==
เส้น 61 ⟶ 63:
* [[อัลล์เกอไมเนอ เอ็สเอ็ส]]
* [[เอ็สเอ็ส-โทเทนคอฟเฟอร์แบนเดอ|หน่วยหัวกะโหลก-เอ็สเอ็ส]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง|30em}}
เส้น 66 ⟶ 69:
== เชิงอรรถ ==
{{refbegin|30em}}
* Art, David (2006). ''The Politics of the Nazi Past in Germany and Austria''. Cambridge University Press. ISBN 0-521-85683-3
* Baranowski, Shelley (2010). ''Nazi Empire: German Colonialism and Imperialism from Bismarck to Hitler''. New York: Cambridge University Press. ISBN 978-0-52167-408-9
* Bessel, Richard. ''Nazism and War''. New York: Modern Library, 2006. ISBN 978-0-81297-557-4
* Bishop, Chris (2005). ''Hitler's Foreign Divisions: 1940–45''. Amber. ISBN 978-1-904687-37-5.
* Bishop, Chris (2007). ''Waffen-SS Divisions: 1939–45''. Amber. ISBN 1-905704-55-0.
* Burleigh, Michael, and Wolfgang Wippermann (1991). ''The Racial State: Germany 1933-1945''. Cambridge & New York: Cambridge University Press. ISBN 978-0-52139-802-2
* Burleigh, Michael (2010). ''Moral Combat: Good and Evil in World War II''. New York: Harper Collins. ISBN 978-0-06058-097-1
* Cook, Stan & Bender, Roger James (1994). ''Leibstandarte SS Adolf Hitler: Uniforms, Organization, & History''. San Jose, CA: R. James Bender Publishing. ISBN 978-0-912138-55-8.
* Fischer, Klaus (1995). ''Nazi Germany: A New History''. New York: Continuum. ISBN 978-0-82640-797-9
* Himmler, Heinrich (1936). ''Die Schutzstaffel als antibolschewistische Kampforganisation'' [The SS as an Anti-bolshevist Fighting Organization]. Munich: Franz Eher Nachfolger.
* Höhne, Heinz (2001). ''The Order of the Death’s Head: The Story of Hitler’s SS''. New York: Penguin Press. ISBN 978-0-14139-012-3
* International Military Tribunal (IMT) (1947–49). ''Record of the Nuremberg Trials November 14, 1945 – October 1, 1946''. 42 Vols. London: HMSO.
* Leitz, Christian, ed. (1999). ''The Third Reich: The Essential Readings''. Oxford: Wiley-Blackwell. ISBN 978-0-63120-700-9
* Lumsden, Robin (1997). ''Himmler's Black Order 1923–45''. Sutton. ISBN 0-7509-1396-7.
* Lumsden, Robin (2000). ''A Collector's Guide To: The Waffen-SS''. Ian Allan Publishing, Inc. ISBN 0-7110-2285-2.
* Lumsden, Robin (2002). ''A Collector's Guide To: The Allgemeine-SS''. Ian Allan Publishing, Inc. ISBN 0-7110-2905-9.
* MacDonogh, Giles (2009). ''After the Reich: The Brutal History of the Allied Occupation''. New York: Basic Books. ISBN 978-0-46500-337-2
เส้น 96 ⟶ 84:
* Yerger, Mark C. (1997). ''Allgemeine-SS: The Commands, Units, and Leaders of the General SS''. Schiffer Publishing. ISBN 0-7643-0145-4.
{{refend}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.axishistory.com/axis-nations/germany-a-austria/waffen-ss Waffen SS] Personal website from Sweden.