ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กิโยตีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ภาพ:The Halifax Gibbet - geograph.org.uk - 350422.jpg|220px|thumb|กีโยตีนในอังกฤษ]]
[[ภาพ:Joseph-Ignace Guillotin cropped.JPG|220px|thumb|โฌแซ็ฟ-อีญัส กียอแต็ง แพทย์ชาวฝรั่งเศสผู้ประดิษย์ประดิษฐ์กียอโยตีน]]
 
คือเครื่องมือที่ใช้'''กิโยตีน''' ({{lang-fr|guillotine}}) เป็นชื่อเรียกของอุปกรณ์[[การประหารชีวิต]]ของ[[ฝรั่งเศส]] ถูกประดิษฐ์ขึ้นในช่วง[[การลงโทษโดยการปฏิวัติฝรั่งเศส]]เพื่อใช้ตัดคอนักโทษ กิโยตีนประกอบโครงโดยส่วนมากจะเป็นไม้ ไว้สำหรับแขวนใบมีดรูป[[สี่เหลี่ยมคางหมู]] น้ำหนักประมาณ 40 กก. ใบมีดจะถูกแขวนไว้ในส่วนบนสุด ภายใต้ใบมีดจะเป็นส่วนที่ให้ผู้ถูกลงโทษวางศีรษะ เมื่อเชือกได้ถูกปล่อยหรือตัดลง ใบมีดที่หนักจะหล่นลงไม้ในระยะทางประมาณ 2.3 เมตร และตัดศีรษะผู้ถูกประหาร (ความสูงและน้ำหนักตามมาตรฐานกิโยตีนฝรั่งเศส)
'''กิโยตีน''' ({{lang-fr|guillotine}}) เป็นชื่อเรียกของอุปกรณ์[[การประหารชีวิต]]ของ[[ฝรั่งเศส]]
 
[[ประเทศฝรั่งเศส]]ได้ชื่อว่าเป็นประเทศแรกที่ใช้การประหารชีวิตด้วยกิโยตีน นีกอลา ฌัก แปลตีเย (Nicolas J. Pelletier) โจรปล้นสัญจรถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตีนเป็นคนแรกเมื่อวันที่ [[25 เมษายน]] [[พ.ศ. 2335]] (ค.ศ. 1792) ในช่วงเวลาใกล้เคียงกันในช่วง[[คริสต์ศตวรรษที่ 16]] [[สหราชอาณาจักร]] มีเครื่องลงโทษลักษณะที่คล้ายกันชื่อ [[จิบบิตกรงเหล็กตะแลงแกง]] (gibbet) และมีเครื่องลงโทษลักษณะคล้ายกันใน[[ประเทศอิตาลี]]และ[[ประเทศสวิตเซอร์แลนด์|สวิตเซอร์แลนด์]]
== ลักษณะ ==
คือเครื่องมือที่ใช้ในการลงโทษโดยการตัดคอ กิโยตีนประกอบโครงโดยส่วนมากจะเป็นไม้ ไว้สำหรับแขวนใบมีดรูป[[สี่เหลี่ยมคางหมู]] น้ำหนักประมาณ 40 กก. ใบมีดจะถูกแขวนไว้ในส่วนบนสุด ภายใต้ใบมีดจะเป็นส่วนที่ให้ผู้ถูกลงโทษวางศีรษะ เมื่อเชือกได้ถูกปล่อยหรือตัดลง ใบมีดที่หนักจะหล่นลงไม้ในระยะทางประมาณ 2.3 เมตร และตัดศีรษะผู้ถูกประหาร (ความสูงและน้ำหนักตามมาตรฐานกิโยตีนฝรั่งเศส)
 
[[อ็องตวน หลุยส์]] (Antoine Louis) สมาชิกของกลุ่ม Académie Chirurgical เป็นบุคคลที่คิดค้นการทำงานของเครื่องกิโยตีน โดยเครื่องกิโยตีนตอนแรกได้ใช้ชื่อว่า ลูยซง (Louison) หรือลูยแซ็ต (Louisette) แต่ได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น "กิโยตีน" ตามชื่อของ ดร. [[โฌแซ็ฟ-อีญัส กียอแต็ง]] (Joseph-Ignace Guillotin) แพทย์ชาวฝรั่งเศสเป็นผู้เสนอแนะการประหารชีวิตโดยการตัดคอ ภายหลัง ดร.กิโยตีน ได้เปลี่ยนนามสกุล เนื่องจากไม่ต้องการใช้ชื่อสกุลเป็นคำเดียวกับวิธีการประหารชีวิต การใช้เครื่องกิโยตีนแทนการประหารชีวิตแบบเก่า โดยเหตุผลว่าเป็นการประหารชีวิตของมนุษย์ ทั้งนี้ก่อน[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]] ผู้มีชื่อเสียงจะมักถูกตัดคอโดยดาบหรือขวาน ในขณะที่ชาวบ้านทั่วไปจะถูกแขวนคอ หรือวิธีการประหลาดต่าง ๆ ในช่วงของ[[ยุคกลาง]] (เช่น ถูกเผาหรือมัดกับล้อไม้) ในการตัดคอ มีหลายครั้งที่ตัดคอไม่สำเร็จในดาบแรก ทำให้เกิดความทรมานต่อผู้ถูกประหารชีวิต การใช้กิโยตีนจะทำให้ผู้ถูกประหารชีวิตเจ็บปวดน้อยที่สุด ในช่วงปฏิวัติฝรั่งเศส มีผู้ถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตีนอย่างน้อย 20,000 คน โดยการประหารด้วยกิโยตีนถือเป็นที่สนใจของบุคคลทั่วไปเช่นกัน
[[ประเทศฝรั่งเศส]]ได้ชื่อว่าเป็นประเทศแรกที่ใช้การประหารชีวิตด้วยกิโยตีน นีกอลา ฌัก แปลตีเย (Nicolas J. Pelletier) โจรปล้นสัญจรถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตีนเป็นคนแรกเมื่อวันที่ [[25 เมษายน]] [[พ.ศ. 2335]] (ค.ศ. 1792) ในช่วงเวลาใกล้เคียงกันในช่วง[[คริสต์ศตวรรษที่ 16]] [[สหราชอาณาจักร]] มีเครื่องลงโทษลักษณะที่คล้ายกันชื่อ [[จิบบิต]] (gibbet) และมีเครื่องลงโทษลักษณะคล้ายกันใน[[ประเทศอิตาลี]]และ[[ประเทศสวิตเซอร์แลนด์|สวิตเซอร์แลนด์]]
 
กิโยตีนถือเป็นเครื่องประหารชนิดเดียวที่ถูกกฎหมาย จนกระทั่งยกเลิกกฎหมายประหารชีวิตในปี [[พ.ศ. 24241881 อย่างไรก็ตาม ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ทวีปยุโรปได้ตกอยู่ภายใต้การยึดครองของ[[นาซีเยอรมนี]] นาซีได้นำเครื่องกิโยตีนมาใช้ในการประหารชีวิตผู้ที่ต่อต้านระบอบนาซีในเยอรมนี บุคคลสุดท้ายที่ถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตีนคือ ยูจีนออยเกิน เว็ดมันน์ไวด์มันน์ (Eugene Weidmann) ฆาตกรสังหาร 5 ศพชาวเยอรมัน โดยถูกตัดศีรษะเมื่อวันที่ [[17 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2482]] (ค.ศ. 1939) เวลา 16.32 น. ภายนอก[[คุกแซ็ง-ปีแยร์]] (Saint-Pierre) ที่เมือง[[แวร์ซาย]]
== ผู้คิดค้น ==
[[อ็องตวน หลุยส์]] (Antoine Louis) สมาชิกของกลุ่ม Académie Chirurgical เป็นบุคคลที่คิดค้นการทำงานของเครื่องกิโยตีน โดยเครื่องกิโยตีนตอนแรกได้ใช้ชื่อว่า ลูยซง (Louison) หรือลูยแซ็ต (Louisette) แต่ได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น "กิโยตีน" ตามชื่อของ ดร.[[โฌแซ็ฟ-อีญัส กียอแต็ง]] (Joseph-Ignace Guillotin) แพทย์ชาวฝรั่งเศสเป็นผู้เสนอแนะการประหารชีวิตโดยการตัดคอ ภายหลัง ดร.กิโยตีน ได้เปลี่ยนนามสกุล เนื่องจากไม่ต้องการใช้ชื่อสกุลเป็นคำเดียวกับวิธีการประหารชีวิต การใช้เครื่องกิโยตีนแทนการประหารชีวิตแบบเก่า โดยเหตุผลว่าเป็นการประหารชีวิตของมนุษย์ ก่อน[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]]ผู้มีชื่อเสียงจะถูกตัดคอโดยดาบหรือขวาน ในขณะที่ชาวบ้านทั่วไปจะถูกแขวนคอ หรือวิธีการประหลาดต่าง ๆ ในช่วงของ[[ยุคกลาง]] (เช่น ถูกเผาหรือมัดกับล้อไม้) ในการตัดคอ มีหลายครั้งที่ตัดคอไม่สำเร็จในดาบแรก ทำให้เกิดความทรมานต่อผู้ถูกประหารชีวิต การใช้กิโยตีนจะทำให้ผู้ถูกประหารชีวิตเจ็บปวดน้อยที่สุด ในช่วงปฏิวัติฝรั่งเศส มีผู้ถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตีนอย่างน้อย 20,000 คน โดยการประหารด้วยกิโยตีนถือเป็นที่สนใจของบุคคลทั่วไปเช่นกัน
 
กิโยตีนถือเป็นเครื่องประหารชนิดเดียวที่ถูกกฎหมาย จนกระทั่งยกเลิกกฎหมายประหารชีวิตในปี [[พ.ศ. 2424]] บุคคลสุดท้ายที่ถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตีนคือ ยูจีน เว็ดมันน์ (Eugene Weidmann) ฆาตกรสังหาร 5 ศพ โดยถูกตัดศีรษะเมื่อวันที่ [[17 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2482]] (ค.ศ. 1939) เวลา 16.32 น. ภายนอก[[คุกแซ็ง-ปีแยร์]] (Saint-Pierre) ที่เมือง[[แวร์ซาย]]
 
นอกจากนั้นในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ทวีปยุโรปได้ตกอยู่ภายใต้ของ[[นาซีเยอรมัน]] นาซีได้นำเครื่องกิโยตีนมาใช้ในการประหารชีวิตผู้ที่ต่อต้านระบอบนาซีในเยอรมนีและเขตปกครองตลอดจนจบสงคราม
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==