ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระครูวิสุทธิวงศาจารย์ญาณมุนี (แช่ม)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
| วันเกิด = [[พ.ศ. 2370]]
| วันบวช = [[พ.ศ. 2390]]
| วันตาย = [[2718 เมษายน]] [[พ.ศ. 2451]]
| พรรษา = 61
| อายุ = 81
บรรทัด 26:
ในปี [[พ.ศ. 2419]] เกิดการจลาจลขึ้นในเมืองภูเก็ตจากฝีมือของกลุ่มอั้งยี่กรรมกรขุดแร่ดีบุกชาวจีน ชาวบ้านฉลองที่เคยเป็นลูกศิษย์ของหลวงพ่อแช่มได้ชักชวนให้หลวงพ่อแช่มหนีภัยพวกอั้งยี่ไปซ่อนตัวอยู่ที่อื่น แต่หลวงพ่อแช่มไม่ยอมทิ้งวัดหนีไป ลูกศิษย์ของหลวงพ่อแช่มจึงตัดสินใจรวมกลุ่มกันสู้เพื่อปกป้องหลวงพ่อแช่มและขอผ้าประเจียดจากท่านเพื่อเป็นขวัญกำลังใจ ซึ่งท่านก็ได้อนุโลมตามที่บรรดาลูกศิษย์ขอร้อง ลูกศิษย์ชาวบ้านฉลองกลุ่มนี้ต่อมารบพวกอั้งยี่ชนะ ทำให้คนที่หนีภัยอั้งยี่กลับเข้ามารวมกลุ่มกันสู้พวกจีนอั้งยี่มากขึ้นและอาศัยผ้าประเจียดที่หลวงพ่อแช่มทำขึ้นเป็นเครื่องปลุกใจสำคัญ จนกระทั่งสามารถไล่่พวกจีนอั้งยี่ไม่ให้เข้ามาปล้นหมู่บ้านฉลองได้อีก ต่อมาเมื่อทางการปราบปรามจีนอั้งยี่ภูเก็ตจนราบคาบแล้ว ทางราชการได้ยกความดีความชอบส่วนหนึ่งในการปราบกบฏอั้งยี่ครั้งนี้ให้แก่หลวงพ่อแช่ม และเวลานั้นตำแหน่งพระครูสังฆปาโมกข์เมืองภูเก็ตยังว่างอยู่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระกรุณาโปรดแต่งตั้งให้หลวงพ่อแช่มให้เป็นพระครูสังฆปาโมกข์ สมณศักดิ์ที่พระครูวิสุทธิวงศาจารย์ญาณมุนี และในปีต่อมา (พ.ศ. 2420) ได้พระราชทานนามวัดฉลองใหม่ว่า "วัดไชยธาราราม" อนึ่งจากเหตุจลาจลอั้งยี่ดังกล่าว ทำให้ชาวเมืองภูเก็ตเชื่อว่า ที่ชาวบ้านฉลองรบชนะพวกจีน เพราะท่านพระครูวัดฉลองมีอิทธิฤทธิ์ในทางวิทยาคม จึงนับถือกันว่าท่านเป็นเกจิอาจารย์สำคัญคนหนึ่งมานับแต่นั้น
 
พระครูวิสุทธิวงศาจารย์ญาณมุนี (แช่ม) ถึงแก่มรณภาพด้วยอาการอาพาธเป็นอุจจาระธาตุพิการ เมื่อวันที่ [[2718 เมษายน]] [[พ.ศ. 2451]]<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2451/007/167_1.PDF ข่าวมรณภาพ], เล่ม 25, ตอน 7, 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2451, หน้า 167</ref> ได้มีการส่งหีบเพลิงไปพระราชทานเพลิงศพที่ภูเก็ต พร้อมเงิน 100 เฟื้อง ผ้าขาว 2 พับ เพื่อใช้ในการพระราชทานเพลิงศพตามธรรมเนียมเมื่อวันที่ [[5 เมษายน]] [[พ.ศ. 2452]]<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2452/D/78.PDF ส่งหีบเพลิงไปพระราชทาน], เล่ม 26, ตอน 0ง, 11 เมษายน พ.ศ. 2452, หน้า 79</ref>
 
== อ้างอิง ==