ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประชาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
แปลจากวิกิอังกฤษ + บทความเดิม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
หรือ '''การรับรู้'''<ref name=Lexitron>{{Citation | title = Cognition | quote = การรับรู้ | work = Lexitron พจนานุกรมไทย<=>อังกฤษ รุ่น 2.6 | url = http://lexitron.nectec.or.th | publisher = หน่วยปฏิบัติการวิจัยวิทยาการมนุษยภาษา, ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | year = 2546 }}</ref>
({{lang-en |Cognition}})
เป็น "การกระทำหรือกระบวนการทางใจเพื่อให้ได้[[ความรู้]][[ความเข้าใจ]]ผ่าน[[ความคิด]] [[ประสบการณ์]] และ[[ประสาทสัมผัส]]"<ref>{{Cite web | title = cognition - definition of cognition in English from the Oxford dictionary | url = http://www.oxforddictionaries.com/definition/english/cognition | website = www.oxforddictionaries.com | access-date = 2016-02-04 | quote = the mental action or process of acquiring knowledge and understanding through thought, experience, and the senses}}</ref>
โดยซึ่งรวมกระบวนการต่าง ๆ รวมทั้ง
{{Div col |2}}
* [[ความรู้]]
* [[การใส่ใจ]]
* [[ความจำ]]พร้อมความจำใช้งาน (working memory)
* การประเมินตัดสินคุณค่าความสำคัญ
* การหา[[เหตุผล]]พร้อม[[การคำนวณ|การคณนา]]
* การแก้ปัญหาและการตัดสินใจ
* [[ความเข้าใจ]]
* การใช้[[ภาษา]]{{Div col end}}
ให้สังเกตว่า ประชานของมนุษย์มีทั้งแบบ ''"ใต้สำนึก"'' และ ''"เหนือสำนึก"'' ทั้งเป็นไปในเรื่องทั้ง ''"รูปธรรม"'' และ ''"นามธรรม"'' ทั้งแบบ ''"รู้เอง"'' (intuitive เช่นการรู้ภาษา) และแบบ ''"นึกคิด"'' (conceptual เช่นการรู้หลักภาษา)
กระบวนการทางประชานทั้งใช้ความรู้ที่มีอยู่และสร้างความรู้ใหม่ ๆ
 
เส้น 86 ⟶ 87:
 
[[ไฟล์:Generalization process using trees PNG version.png|thumb | เมื่อใจสร้างนัยทั่วไปเช่นแนวคิดเรื่อง "ต้นไม้" มันจะดึงความคล้ายคลึงกันมาจากตัวอย่างมากมาย ทำเป็นแนวคิดง่าย ๆ ที่ช่วยให้สามารถคิดในระดับที่สูงขึ้นคือเป็นนามธรรมได้ ]]
== ในจิตวิทยา ==
กระบวนการทางจิตใจที่เรียกว่า "ประชาน" ได้อิทธิพลจากงานวิจัยที่ได้ใช้แนวคิดเช่นนี้อย่างสำเร็จผลในอดีต
โดยน่าจะเริ่มตั้งแต่[[ทอมัส อไควนัส]]
เส้น 99 ⟶ 100:
แต่การแบ่งเช่นนี้ทุกวันนี้มองว่าเป็นเรื่องสร้างขึ้น และงานวิจัยในปัจจุบันก็กำลังตรวจสอบอารมณ์โดยเป็นส่วนของจิตวิทยาปริชาน
งานวิจัยยังรวมการสำนึกถึงกลยุทธ์และวิธีการรับรู้ของตนเองที่เรียกว่า metacognition พร้อมทั้ง metamemory
งานวิจัยเชิงหลักฐานของในเรื่องประชานมักจะทำแบบวิทยาศาสตร์ในรูปแบบวิทยาศาสตร์เชิงปริมาณ ซึ่งรวมการสร้าง[[แบบจำลองทางวิทยาศาสตร์|แบบจำลอง]]เพื่ออธิบายหรือพรรณนาถึงพฤติกรรมบางอย่าง
 
แม้อาจยังมีคนที่ปฏิเสธว่ากระบวนการทางประชานเกิดที่[[สมอง]] แต่ทฤษฎีทางประชานก็ไม่จำเป็นต้องอ้างอิงสมองหรือกระบวนการทางชีววิทยาอื่น ๆ
เพราะศาสตร์กล่าวถึงพฤติกรรมโดยเป็นการดำเนินไปของข้อมูลหรือการทำงาน
โดยมีสาขาภายหลังบางอย่าง เช่น [[ประชานศาสตร์]]และประสาทจิตวิทยา ที่หมายจะเชื่อมช่องว่างนี้
คือใช้หลักทางประชานเพื่อให้เข้าใจว่าสมองทำหน้าที่ประมวลข้อมูลเช่นนี้ได้อย่างไร
เส้น 115 ⟶ 116:
สังคมมนุษย์เป็นสิ่งแวดล้อมที่เด็กเกิดใหม่จะต้องเรียนรู้การเข้าสังคมและพัฒนากระบวนการทางประชาน
ยกตัวอย่างเช่น การรับรู้ใบหน้า (face perception) ในเด็กทารกจะเริ่มเกิดตั้งแต่อายุ 2 เดือน เด็กเล็ก ๆ ที่สนามเด็กเล่นหรือสระว่ายน้ำจะพัฒนาการรู้จำทางสังคมโดยเห็นรูปหน้าต่าง ๆ แล้วสัมพันธ์ประสบการณ์กับใบหน้าเหล่านั้น
ระบบการศึกษามีหน้าที่โดยเฉพาะในสังคมเพื่อพัฒนาระบบประชาน
คือจะมีการเลือกว่าอะไรจะอยู่ในสิ่งแวดล้อมทางสังคมของเด็ก แล้วสร้างกิจกรรมที่ให้ประสบการณ์
 
การรู้ภาษาเป็นตัวอย่างของ emergent behavior (พฤติกรรมอุบัติ) ที่ปฏิสัมพันธ์ของระหว่างพฤติกรรมย่อย ๆ ทำให้เกิดการรู้ภาษาที่ดูว่าไม่น่าจะเกิดจากพฤติกรรมย่อย ๆ เหล่านั้น
จากมุมมองใหญ่ ๆ กระบวนการทางประชานพิจารณาว่าสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับการใช้ชีวิตและการอยู่ในกฎเกณฑ์ของสังคมมนุษย์
ยกตัวอย่างเช่น การเลือกรูปแบบใหญ่ ๆ ของคุณครูจะมีอิทธิพลต่อการเลือกแบบน้อย ๆ ของนักเรียน
เส้น 146 ⟶ 147:
=== ตำแหน่งตามลำดับ (Serial position) ===
การทดลองแบบ "ตำแหน่งตามลำดับ (serial position)" หมายจะทดสอบทฤษฎีความจำที่อ้างว่า เมื่อให้ข้อมูลตามลำดับ
เรามักจะจำข้อมูลที่ต้นลำดับได้ ซึ่งเรียวกว่าเรียกว่า ปรากฏการณ์ต้นลำดับ (primacy effect)
และจะจำข้อมูลที่ท้ายลำดับได้ ซึ่งเรียกว่า ปรากฏการณ์ความใหม่ (recency effect)
ด้วยเหตุนั้น ข้อมูลที่กลางลำดับจึงมักจะลืม หรือไม่สามารถระลึกได้ง่ายเท่า
 
เส้น 157 ⟶ 158:
การทดลองนี้แสดงคำ หรืออักษรหนึ่งเดี่ยว ๆ เป็นช่วงระยะสั้น ๆ แก่ผู้ร่วมการทดลอง
เช่นเป็นระยะ 40 มิลลิวินาที แล้วให้ระลึกถึงอักษรที่อยู่ในตำแหน่งโดยเฉพาะในคำ
ทฤษฎีพยากรณ์ว่า ผู้ร่วมการทดลองควรจะสามารถระลึกถึงอักษรที่ปรากฏในคำได้ถูกต้องกว่าเมื่ออักษรที่ปรากฏโดด ๆ
งานทดลองนี้พุ่งความสนใจไปที่การพูดและการรู้ภาษาของมนุษย์<ref>{{cite journal | last = Krueger | first = L. | title = The word-superiority effect and phonological recoding | journal = Memory & Cognition | year = 1992 | volume = 20 | pages = 685-694 | doi = 10.3758/BF03202718 | issue = 6}}</ref>
 
เส้น 173 ⟶ 174:
ในรูปแบบหนึ่งของการทดลอง ถ้าสามารถระลึกรายการได้ถูกต้อง ก็จะให้ฟังรายการที่ยาวขึ้น 1 หน่วย ถ้าระลึกผิด ก็จะลดลง 1 หน่วย
ทฤษฎีก็คือว่า มนุษย์มีช่วงความจำสำหรับเลข 7 เบอร์ สำหรับอักษร 7 อักษรที่มีเสียงต่างกัน และคำ 7 คำสั้น ๆ
โดยช่วงความจำจะน้อยกว่าถ้าอักษรมีเสียงคล้ายกัน หรือเป็นคำยาว ๆ<ref>{{cite journal | last = May | first = C. | author2 = Hasher, L. | author3 = Kane, M. | title = The role of interference in memory span | journal = Memory & Cognition | year = 1999 | volume = 27 | pages = 759-767 | doi = 10.3758/BF03198529 | issue = 5 | pmid = 10540805}}</ref>
 
=== การหาด้วยตา (Visual search) ===
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ประชาน"