ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประชาธิปไตยโดยตรง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับให้ดีขึ้น
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับให้ดีขึ้น
บรรทัด 29:
'''การลงประชามติโดยบังคับ''' (compulsory referendum) บังคับกฎหมายที่ร่างโดยอภิสิทธิชนทางการเมือง ให้อยู่ใต้อำนาจการลงคะแนนเสียงของประชาชน
เป็นรูปแบบสามัญที่สุดของนิติบัญญัติโดยตรง
ส่วน '''การขอประชามติ''' (popular referendum) หรือ '''[[การขอประชามติโดยเลือกทำ]]''' (popularoptional referendum) ให้อำนาจประชาชนเพื่ออุทธรณ์ให้ประชาชนลงคะแนนเสียงในประชามติต่อกฎหมายที่มีอยู่แล้ว
โดยอาจมีกำหนดช่วงเวลาหลังการออกกฎหมายที่สามารถอุทธรณ์ได้และจำนวนลายเซ็นที่ต้องมี และอาจบังคับให้มีลายเซ็นจากชุมชนหลายหลากเพื่อป้องกันผลประโยชน์ของคนกลุ่มน้อย<ref name=":0" />
รูปแบบนี้เท่ากับให้ประชาชนผู้ลงคะแนน[[อำนาจยับยั้ง]]กฎหมายที่ออกโดยผู้แทนฝ่ายนิติบัญญัติ ดังเช่นใน[[ประเทศสวิตเซอร์แลนด์]]{{sfnp | Hirschbühl | 2011a }}{{sfnp | Hirschbühl | 2011b }}{{sfnp | Hirschbühl | 2011c }}{{sfnp | Hirschbühl | 2011d }}
 
'''[[การริเริ่มออกกฎหมาย]]''' (Initiative) ให้อำนาจแก่ประชาชนทั่วไปในการเสนอมาตรการกฎหมายโดยเฉพาะ ๆ หรือการแก้ไขรัฐธรรมนูญ
และอาจเป็นแบบโดยตรงหรือโดยอ้อม แบบตรงจะระบุการริเริ่มที่ทำสำเร็จบนบัตรเลือกตั้งเพื่อการลงคะแนนโดยตรง (เหมือนกับระบบใน[[แคลิฟอร์เนีย]])<ref name=":0" />
แบบอ้อมจะให้สภานิติบัญญัติพิจารณาการริเริ่มที่ทำสำเร็จก่อน
บรรทัด 47:
ประชาธิปไตยโดยตรงแรกสุดเชื่อว่าเป็นประชาธิปไตยของ[[ชาวเอเธนส์]]ประมาณช่วงพุทธกาล (5 [[ศตวรรษ]]ก่อน[[คริสต์ศักราช]]) แม้ว่าจะไม่ใช่แบบที่ให้อำนาจแก่ประชาชนทั้งหมด คือไม่รวม[[หญิง]] [[คนต่างด้าว]] และ[[ทาส]]
องค์ประชุมหลัก ๆ ของประชาธิปไตยชาวเอเธนส์ก็คือ
* สมัชชาประชาชน ซึ่งประกอบด้วยประชาชนชาย ทำหน้าที่คล้ายกับ[[ฝ่ายนิติบัญญัติ]]
* สภา[[ฝ่ายบริหาร]] (boule) ซึ่งมีประชาชน 500 คน
* [[ฝ่ายตุลาการ]] ซึ่งเป็น[[ลูกขุน]]จำนวนมากที่เลือกโดยลอตเตอรี่ โดยไม่มีผู้พิพากษา
เอเธนส์มีประชาชนชายเพียงแค่ 30,000 คน แต่มีหลายพันที่มีบทบาททางการเมืองแต่ละปี และหลายคนจะทำเป็นปกติหลายปีต่อ ๆ กัน
ประชาธิปไตยชาวเอเธนส์เป็นแบบ "โดยตรง" ไม่ใช่เพียงเพราะการตัดสินใจฝ่ายนิติบัญญัติที่ทำโดยสมัชชาประชาชน แต่เพราะประชาชนก็ยังควบคุมกระบวนการปกครองผ่านฝ่ายบริหารและฝ่ายตุลาการ และเพราะประชาชนสัดส่วนใหญ่ก็มีบทบาทอย่างต่อเนื่องในราชการรัฐกิจด้วย<ref name ="Raaflaub5">{{Harvnb | Raaflaub | Ober | Wallace | 2007 | p = 5}}</ref>
ส่วนประชาธิปไตยปัจจุบันเป็นแบบมีผู้แทน ไม่ใช่โดยตรง และไม่เหมือนระบบของชาวเอเธนส์
 
บรรทัด 63:
ส่วนการออกกฎหมายโดยประชาชนในยุคปัจจุบันได้เริ่มในเมืองต่าง ๆ ของสวิตเซอร์แลนด์ในคริสต์ทศวรรษที่ 13
ต่อมาในปี 2390 คนสวิสจึงได้เพิ่มอำนาจ "การขอเสียงประชามติต่อบทกฎหมาย" สำหรับรัฐธรรมนูญของประเทศ
แล้วต่อมาจึงพบว่า การมีอำนาจเพียงแค่ยับยั้งกฎหมายรัฐสภายังไม่เพียงพอ
ในปี 2434 จึงเพิ่มอำนาจ "[[การริเริ่มออกกฎหมายของประชาชน|การริเริ่มการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ]]"
การเมืองชาวสวิสตั้งแต่ปี 2434 จึงเป็นประสบการณ์สำคัญของโลกเกี่ยวกับการริเริ่มการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญระดับชาติที่ริ่เริ่มริเริ่มแล้วตัดสินโดยประชาชน<ref name="Kobach1993">{{Harvnb | Kobach | 1993 }}</ref>
 
ใน 120 ปีที่ผ่านมา มีการริเริ่มกว่า 240 ครั้งที่ได้ลงประชามติ
บรรทัด 85:
โดยความเห็นของประชาชนผู้มีสิทธิออกเสียงจะได้รับอิทธิพลจาก[[ละครเสียดสี]]ทางการเมืองของศิลปินตลกชาวกรีกที่แสดงในโรงละคร<ref>{{Cite book | author = Henderson, J | title = Comic Hero versus Political Elite | pp = 307-19 | editors = Sommerstein, AH; Halliwell, S; Henderson, J; Zimmerman, B | work = Tragedy, Comedy and the Polis | year = 1993 | publisher = Levante Editori | location = Bari}}</ref>
 
[[รัฐบุรุษ]] Solon (594 ก่อนคริสต์ศักราช) [[ขุนนาง]] Cleisthenes (508-7 ก่อน ค.ศ.) และนักการเมือง Ephialtes (462 ก่อน ค.ศ.) ล้วนแต่มีบทบาทในพัฒนาการของพัฒนาระบอบประชาธิปไตยชาวเอเธนส์
แต่นักประวัติศาสตร์เห็นต่างกันว่า พวกเขามีบทบาทสร้างสถาบันอะไร และคนไหนเป็นผู้แทนที่แท้จริงของขบวนการประชาธิปไตย
โดยปกติจะจัดว่า ประชาธิปไตยชาวเอเธนส์เริ่มมาจาก Cleisthenes เพราะว่ารัฐธรรมนูญของ Solon ได้ล่มแล้วถูกทดแทนด้วยระบอบทรราชย์ของ Peisistratus
 
ผู้นำประชาธิปไตยที่ยิ่งใหญ่ที่สุดและคงยืนที่สุดก็คือเพริคลีส (Pericles)
ภายหลังการเสียชีวิตของเขา ระบอบประชาธิปไตยของชาวเอเธนส์ก็ถูกปฏิวัติเปลี่ยนเป็น[[คณาธิปไตย]]อย่างสั้น ๆ 2 ครั้งท้าย[[สงครามเพโลพอนนีเซียน]]
แล้วต่อมาจึงฟื้นฟูอีกแม้จะเปลี่ยนไปภายใต้การปกครองของยูคลีดีส (Eucleides) ปี 403-402 ก่อน ค.ศ.
เป็นช่วงที่ได้รายละเอียดเกี่ยวกับการปกครองมามากที่สุด ไม่ใช่ได้ในช่วงการปกครองของเพริคลีส
ต่อมาจึงถูกระงับอีกในปี 322 ก่อน ค.ศ. ภายใต้การปกครองของชาว[[มาเซโดเนีย]]
แม้ภายหลังสถาบันของชาวเอเธนส์จะกลับคืนมาอีก แต่ความเป็นประชาธิปไตยจริง ๆ ของระบอบก็เป็นเรื่องไม่ชัดเจน<ref>{{Harvnb | Elster | 1998 | pp = 1-3}}</ref>
บรรทัด 111:
สวิตเซอร์แลนด์เป็นตัวอย่างหายากของประเทศที่มีกลไกของประชาธิปไตยโดยตรงทั้งในระดับเทศบาล [[แคนทอน]] และสหพันธรัฐ
โดยประชาชนจะมีอำนาจมากกว่าในประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน
ในระดับการเมืองทุกส่วน ประชาชนสามารถเสนอการเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญ ([[การริเริ่มออกกฎหมายโดยของประชาชน]])
หรือ[[การขอประชามติโดยเลือกทำ]] (optional referendum ซึ่งต้องมีลายเซ็น 50,000 ราย) ต่อกฎหมายที่ออกโดยรัฐสภาระดับสหพันธรัฐ [[แคนทอน]] และ/หรือเทศบาล<ref name =refdum>{{cite web | url = https://www.ch.ch/en/referendum | title = Referendums | publisher = Swiss Confederation | website = ch.ch - A service of the Confederation, cantons and communes | location = Berne, Switzerland | accessdate = 2017-01-09}}</ref>
 
การขอประชามติโดยเลือกทำ (optional referendum) และการลงประชามติโดยบังคับ (compulsory referendum) ในระดับการปกครองต่าง ๆ โดยทั่วไปจะทำมากกว่าในประเทศอื่น ๆ
ยกตัวอย่างเช่น ในระดับประเทศ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญจะบังคับให้ลงคะแนนเสียงโดยทั้งประชาชนและแคนทอน ส่วนในระดับแคทอนและระดับท้องถิ่นอื่น ๆ การตัดสินใจเรื่องงบประมาณที่พอสมควรไม่ว่าจะโดยฝ่ายนิติบัญญัติหรือฝ่ายบริหาร ก็บังคับให้ประชาชนได้ลงคะแนนเสียงด้วยเหมือนกัน<ref name =refdum/>
 
บรรทัด 120:
จะเป็นการเปลี่ยนนโยบายเรื่องอาชีพทาง[[เซ็กซ์]] เป็นการเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญ หรือนโยบายต่างประเทศ<ref>{{cite web | url = http://www.swissinfo.ch/directdemocracy/checks-and-balances_the-swiss-vote-more-than-any-other-country/36286970 | title = The Swiss vote more than any other country | author = Slater, Julia | publisher = swissinfo.ch - the international service of the Swiss Broadcasting Corporation | date = 2013-06-28 | location = Berne, Switzerland | accessdate = 2015-07-27}}</ref>
 
ในระหว่างเดือนมกราคม 2538 จนถึงเดือนมิถุนายน 2548 ประชาชนได้ลงคะแนนออกเสียง 31 ครั้ง เกี่ยวกับปัญหาระดับปรเะทศประเทศ 103 เรื่อง ปัญหาระดับแคนทอนและเทศบาลมากมายยิ่งกว่านั้น<ref>{{cite web | url = http://www.swissinfo.ch/directdemocracy/explore-600-national-votes_how-direct-democracy-has-grown-over-the-decades/41481992 | title = How direct democracy has grown over the decades | author = Nguyen, Duc-Quang | publisher = swissinfo.ch - the international service of the Swiss Broadcasting Corporation | date = 2015-06-17 | location = Berne, Switzerland | accessdate = 2015-07-27}}</ref>
เทียบกับประชาชน[[ชาวฝรั่งเศส]]ที่มีส่วนร่วมลงประชามติเพียงแค่สองครั้งในช่วงเดียวกัน<ref name=Golay/>
 
ในสวิตเซอร์แลนด์ การได้คะแนนเกินครึ่งของที่ออกเสียงลงคะแนน (simple majority) ก็พอแล้วในระดับเทศบาลและแคนทอน แต่ในระดับประเทศ การได้เสียงข้างมากโดยอย่างน้อย 2 เกณฑ์ (double majority) เป็นข้อบังคับในเรื่องเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ<ref name ="Kobach1993" />
ซึ่งก็คือ ต้องได้เสียงข้างมากจากประชาชนที่ลงคะแนน และจากแคนทอนที่ลงคะแนน
 
ดังนั้น ถ้าประชาชนเสนอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญในระดับประเทศ
ถึงแม้ประชาชนโดยมากจะอนุมัติแต่แคนทอนโดยมากคัดค้าน สิ่งที่เสนอก็จะไม่ผ่านเป็นกฎหมาย<ref name ="Kobach1993" />
ส่วนการลงประชามติ หรือญัตติในเรื่องทั่ว ๆ ไป (เช่น หลักของการแก้ไขรัฐธรรมนูญทั่วไป) การได้เสียงส่วนมากจากคนที่ออกเสียงก็พอแล้ว (เช่นรัฐธรรมนูญปี 2548)
 
ในปี 2433 เมื่อกำลังอภิปรายข้อกำหนดการออกฎหมายของประชาชนใน[[ประชาสังคม]]และรัฐบาล
บรรทัด 164:
|[[เจมส์ เมดิสัน]] - บิดาของ[[รัฐธรรมนูญสหรัฐ]]และ[[ประธานาธิบดีสหรัฐ|ประธานาธิปดี]]คนที่ 4<ref>{{cite web | authors = Madison, James | date = 1787-11-22 | title = The Federalist No. 10&nbsp;- The Utility of the Union as a Safeguard Against Domestic Faction and Insurrection (continued) | url = http://www.constitution.org/fed/federa10.htm | work = Daily Advertiser | accessdate = 2007-09-07 }}</ref>
}}
จอห์น วิเธอร์สปูน ซึ่งเป็นผู้เซ็นรับลงนาม[[คำประกาศอิสรภาพสหรัฐอเมริกา]]กล่าวว่า
"ประชาธิปไตยบริสุทธิ์ไม่สามารถดำรงอยู่ได้นานด้วย ไม่สามารถใช้ในส่วนต่าง ๆ ของรัฐด้วย (เพราะ) มันตกอยู่ใต้การทำตามอำเภอใจและตามความบ้าเนื่องจากความคลั่งไคล้ของประชาชน"
ส่วน[[อเล็กซานเดอร์ แฮมิลตัน]] ผู้เป็นบิดาของประเทศและเลขาธิการกระทรวงการคลังสหรัฐคนแรก ได้กล่าวไว้ว่า
บรรทัด 241:
พรรคได้พัฒนาและตีพิมพ์โครงสร้างสมบูรณ์ของการปฏิรูปที่เป็นไปตามกฎหมายเพื่อสร้าง EDD (รวมทั้งการปฏิรูปรัฐสภาที่จำเป็น)<ref>{{Cite web | url = http://www.paparty.co.uk/direct_democracy_reform.htm | title = Reform to Direct Democracy | website = www.paparty.co.uk | access-date = 2016-07-23}}</ref>
ทำให้สามารถวิวัฒนาการระบบการปกครองผ่านการออกเสียงลงคะแนนด้วยเสียงข้างมากอย่างถูกต้องตามกฎหมาย โดยไม่ต้องปฏิวัติใช้ความรุนแรง
พรรคตั้งขึ้นโดยนักดนตรีและนักปฏิบัติการทางการเมือง สนับสนุนให้ใช้[[เว็บ]]และ[[โทรศัพท์]]เพื่อให้ผู้มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนสามารถสร้าง เสนอ และออกเสียงลงคะแนนต่อเกี่ยวกับการออกกฎหมายของรัฐ
แผนงานละเอียดของพรรคได้ตีพิมพ์ในวรรณกรรมรูปแบบต่าง ๆ ตั้งแต่ปี 2541
 
บรรทัด 312:
-->
== ดูเพิ่ม ==
{{refbegin | 2 }}
* [[สังคมนิยมแบบอิสรนิยม]]
* [[ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม]]
เส้น 319 ⟶ 320:
* [[Sociocracy|สังคมธิปไตย]]
* [[เผด็จการโดยเสียงข้างมาก]]
{{refend}}
 
== เชิงอรรถและอ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง | 30em }}
 
== แหล่งอ้างอิงอื่น ๆ ==
{{Commons category | Direct democracy }}
{{clear}}
== แหล่งอ้างอิงอื่น ๆ ==
{{refbegin | 30em }}
*{{cite book | author1-last = Cary | author1-first = M. | author2-last = Scullard | author2-first = H. H. | year = 1967 | title = A History Of Rome: Down To The Reign Of Constantine | location = New York | publisher = St. Martin's Press | edition = 2nd | ref = CITEREFCaryScullard1967}}
เส้น 358 ⟶ 361:
*Serdült, Uwe (2014) Referendums in Switzerland, in: Qvortrup, Matt (Ed.) Referendums Around the World: The Continued Growth of Direct Democracy. Basingstoke, Palgrave Macmillan, 65-121.
*Verhulst Jos en Nijeboer Arjen [http://www.democracy-international.org/book-direct-democracy.html Direct Democracy] e-book in 8 languages. Free download.
{{refend }}
 
==== เว็บไซต์ ====
{{refbegin | 30em }}
*[http://www.paparty.co.uk/about_direct_democracy.htm Alex Romane (People's Administration Direct Democracy Party)]
*[http://democracy.mkolar.org/DDlinks.html Direct democracy links]