ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาไน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 40:
เป็นปลาที่มีรูปร่างป้อม แบนข้างเล็กน้อย ส่วนหัวลาด ปากมีขนาดเล็ก มีหนวดสั้น 2 คู่ ครีบหลังค่อนข้างยาว ครีบหางเป็นเว้าแฉกลึก สีลำตัวมีสีน้ำตาลคล้ำอมทองหรือน้ำตาลอ่อน ท้องสีจาง บางตัวอาจมีสีสัน ปลาตัวผู้ในฤดูผสมพันธุ์จะมีตุ่มสิวขึ้นบริเวณใบหน้า และครีบอก ผสมพันธุ์และวางไข่ได้ทุกฤดูโดยวางติดกับพืชน้ำ
 
ปลาไนมีขนาดโตเต็มที่ได้มากกว่า 1.5 เมตร (สถิติที่เคยพบว่าใหญ่ที่สุด คือ หนักเกือบ 31 กิโลกรัม อายุประมาณ 25 ปี ที่บ่อตกปลาแห่งหนึ่งใกล้เมือง[[เรดิง (บาร์กเชอร์)|เรดิง]] [[บาร์กเชอร์|แคว้นบาร์กเชอร์]] ประเทศอังกฤษ เป็นปลาชื่อ "พาร์ร็อต" (Parrot)<ref>หน้า 7 โลกาภิวัฒน์ GLOBALIZATION, ''ปลาน้ำจืดที่ใหญ่ที่สุดเมืองผู้ดีลาโลกด้วยวัย 25 ปี''. "โลกโศภิณ". '''ไทยรัฐ'''ปีที่ 68 ฉบับที่ 21755: วันจันทร์ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2560 แรม 7 ค่ำ เดือน 9 ปีระกา</ref>) สามารถวางไข่ได้ถึง 1 แสนฟอง ชอบอาศัยรวมเป็นฝูงในแหล่งน้ำไหลเชี่ยว และสามารถปรับตัวได้ทุกสภาพแหล่งน้ำ แต่จะไม่วางไข่ในแหล่งน้ำนิ่ง เป็นปลาพื้นเมืองของประเทศจีนตะวันตกและภูมิภาค[[ยุโรปตะวันออก]] แต่ในบางภูมิภาค เช่น [[ออสเตรเลีย]] ปลาไนได้ถูกนำเข้าและถูกปล่อยลงแหล่งน้ำธรรมชาต้ จนแพร่ขยายพันธุ์กระทบต่อสัตว์น้ำพื้นเมืองเป็น[[ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น|เอเลี่ยนสปีชีส์]] มีฉายาเรียกว่า "กระต่ายแม่น้ำ" (River Rabbit)<ref name="อ้าง"/> รวมถึงในประเทศไทยด้วย<ref>{{cite web|title=10 ปลาเอเลี่ยนในเมืองไทย ที่กำลังยึดแหล่งน้ำโดยคุณไม่รู้ตัว|url=http://animals.spokedark.tv/?p=2218|publisher=spokedark|date=August 13, 2014|accessdate=July 6, 2016}}</ref>
 
==การรับประทาน==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ปลาไน"