ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กองทัพอากาศประเทศแมนจู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Plamnakpandin (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Plamnakpandin (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 43:
ตั้งอต่ก่อตั้งรัฐแมนจูกัวขึ้นในค.ศ.1932 โดยช่วงแรกเรียกว่าสายการบินทหารแมนจูกัว มีหน้าที่ในการขนส่งและเครื่องบินส่วนใหญ่เป็นเครื่องบินโดยสาร โดยมีเพียงการปฏิบัติการเพื่อสนับสนุน [[:en:Inner Mongolian Army|กองทัพมองโกเลียใน]] ในช่วง[[ยุทธการซุยหยวน]]ในค.ศ.1936 โดยเป็น"กองพันอาสาอิสรภาพ" โดยมีเครื่องบิน 13 ลำเพื่อช่วยกองทัพมองโกเลียใน ในการขับไล่[[กองทัพจีนคณะชาติ]] ออกจากจังหวัด[[ซุยหยวน]] โดยกองทัพอากาศแมนจูกัวยังไม่ถูกก่อตั้งอย่างเป็นทางการจนกระทั่ง กุมภาพันธ์ ค.ศ.1937 โดยมีทหารอาสา 30 คนจาก[[กองทัพบกแมนจูกัว]] ที่ถูกส่งไป[[ฮาร์บิน]] เพื่อฝึก ในขั้นต้นผู้บัญชาการ[[กองทัพคันโต]] ยังไม่เชื่อใจชาวแมนจูกัวที่จะให้ก่อตั้งกองทัพอากาศเป็นของตนเอง ดังนั้นในช่วงต้นจึงยังมีนักบินญี่ปุ่นประจำการมาก<ref name="Jowett90">[[#Jowett2004|Jowett (2004)]], pp. 90–92</ref>
 
โดยเริ่มต้นประจำการ [[:en:Nieuport-Delage NiD 29|Nieuport-Delage NiD 29]] โดยประจำการอยู่ที่ [[:en:Hsinking|ชางชุน]] และมีการขยายและเพิ่ม [[:en:Nakajima Army Type 91 Fighter|Nakajima Army Type 91 Fighter]]และ[[:en:Kawasaki Type 88|Kawasaki Type 88]] เครื่องบินทิ้งระเบิดเบาและตั้งกองบินที่สองที่[[:en:Shenyang|เสิ่นหยาง]] และกองบินที่สามที่[[ฮาร์บิน]] ระหว่างค.ศ.1938-39 และเดือนกรกฎาคม ค.ศ.1940 ศูนย์บัญชาการของกองทัพอากาศก็ถูกก่อตั้งขึ้นที่[[:en:Hsinking|ชางชุน]] และญี่ปุ่นได้ตัดสินใจมอบอำนาจในการใช้กองทัพอย่างมีอิสระให้กับนักบินชาวแมนจูกัวและการให้เครื่องบินที่ทันสมัยและโรงเรียนการบินก็ถูกตั้งขึ้นที่[[:en:shenyang|มุกเดน]] โดยควบคู่ไปกับทหารและพลเรือนแต่ก็มีเหตุการณ์ที่ทำให้การพัฒนาต้องหยุดชะงักเมื่อนักบินชาวแมนจูกัวก่อกบฏและไปเข้าร่วมกบฏหลังจากการสังหารอาจารย์ชาวญี่ปุ่นแต่กระนั้นโครงการพัฒนาก็ยังทำต่อไปและมีสามกองบินที่ถูกก่อตั้งในปีค.ศ.1942<ref name="Jowett90" />
Starting out with just one [[Nieuport-Delage NiD 29]], first air unit was based in [[Hsinking]]. They were soon expanded with the addition of [[Nakajima Army Type 91 Fighter]]s and [[Kawasaki Type 88]] light bombers. A second air unit was formed in [[Shenyang|Fengtien]] and a third was formed in [[Harbin]] between 1938–39, and in July 1940 a Manchukuo Air Defense headquarters was established in Hsinking. At that time the Japanese finally decided to give the state its own air force with Manchukuoan pilots and more modern aircraft. A flying school was opened in [[Mukden]] for both military and civil pilots as part of this effort. This program suffered a major setback when one hundred Manchukuoan pilots rebelled and tried to join the guerrillas after murdering their Japanese instructors. Nonetheless the project to create an air force for Manchukuo continued. Three fighter squadrons were formed from cadets in 1942.<ref name="Jowett90" />
 
In the 1940s the Manchukuo Air Force was greatly expanded with an influx of new trainers, transports, and its first fighters. The latter were [[Nakajima Ki-27]] fighters which were presented on Aviation Day, 20 September 1942. The trainers included [[Tachikawa Ki-9]]s and [[Tachikawa Ki-55]]s, while some [[Mitsubishi Ki-57]] transports were also provided. The only bomber craft it had were provided by [[Kawasaki Ki-32]] light bombers. Money to pay for these craft was donated by local companies in Manchukuo with Japanese "encouragement". They were also given [[Nakajima Ki-43]]s in 1945 to have a better chance of intercepting the American [[B-29 Superfortress]]es. The Manchukuoan pilots were given the estimated arrival time of the bombers and would take off about twenty minutes before they were due to arrive, climbing to 7,000 meters to make head-on passes before the B-29s got out of range. Some Manchukuoan pilots were also given kamikaze training and at least one downed a B-29 by crashing a Ki-27 into it. By the time the [[Manchurian Strategic Offensive Operation]] was launched by the [[Soviet Union|Soviet]] [[Red Army]] in August 1945, the Manchukuo Air Force had practically ceased to exist, although there were isolated incidents of Manchukuoan planes attacking Soviet aircraft.