ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จันทร์เพ็ญ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 3:
[[ไฟล์:Full moon.jpeg|thumb|ยานอวกาศกาลิเลโลถ่ายภาพดวงจันทร์หลายภาพแล้วนำมาประกอบเป็นภาพเดียว เมื่อ วันที่ [[7 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2535]] โดยเดินทางไปเพื่อสำรวจระบบดาวพฤหัส ระหว่าง พ.ศ. 2538 - 2540 สีในภาพถูกปรับแต่งเพราะกล้อง CCD นั้นไวต่อความยาวคลื่นใกล้อินฟราเรด ที่สายตาของมนุษย์มองไม่เห็น]]
 
'''จันทร์เพ็ญ''' หรือ '''วันเพ็ญ''' ({{lang-en|Full moon}}) คือวันที่[[พระจันทร์]]เต็มดวง ตาม[[ปฏิทินจันทรคติไทย]] นับเป็นวัน "ขึ้น 15 ค่ำ" (หรือ วัน 15 ค่ำ ตามปฏิทินจันทรคติจีน) อันเป็นปรากฏการณ์ที่ดวงจันทร์อยู่ในตำแหน่งด้านตรงข้ามของ[[โลก]] เมื่อพิจารณาจากตำแหน่ง[[ดวงอาทิตย์]] ในโอกาสนี้ดวงจันทร์ที่เห็นจากพื้นผิวของโลกจะดูสว่างเต็มดวง เพราะรับแสงโดยตรงจากดวงอาทิตย์ อย่างไรก็ตาม ภาพดวงจันทร์ที่เราเห็นเต็มดวงนั้น เป็นเพียงครึ่งหนึ่งของพื้นผิวทั้งหมดของดวงจันทร์ที่ได้รับแสงสว่างจากดวงอาทิตย์
'''จันทร์เพ็ญ''' คือคุณครูที่สอนวิชาชีววิทยาเบื้องต้น ม.1 สวนกุหลาบวิทยาลัย
 
== อุปราคา ==
วันเพ็ญเป็นเพียงโอกาสเดียวที่จะเกิด[[จันทรุปราคา]]ได้ ในเวลานี้ดวงจันทร์อาจเคลื่อนผ่านเงาของโลกที่ทาบลงมา อย่างไรก็ตาม เนื่องความเอียงของวงโคจรที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลก (เมื่อเทียบกับวงโคจรที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์) ทำให้ดวงจันทร์อาจผ่านไปด้านล่างหรือด้านบนของเงาดังกล่าว ด้วยเหตุนี้จันทรุปราคาจึงจะไม่เกิดขึ้นทุกครั้งที่พระจันทร์เต็มดวง
 
เมื่อพระจันทร์เต็มดวง มักเป็นอุปสรรคแก่การสังเกตการณ์ทาง[[ดาราศาสตร์]] เพราะแสงที่สว่างไสว จากดวงจันทร์นั้น จะสว่างข่มแสงดวงดาวต่างๆ ในท้องฟ้าทำให้มองเห็นได้ยากและไม่ชัดเจนเท่ากันวันเดือนมืด
 
[[หมวดหมู่:ดาราศาสตร์]]