ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทวนิยม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 7154516 สร้างโดย 61.19.202.2 (พูดคุย)
บรรทัด 1:
'''เทวนิยม'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2548</ref> ({{lang-en|Theism}}) ในความหมายอย่างกว้างหมายถึงความเชื่อว่ามี[[พระเป็นเจ้า]]หรือ[[เทพเจ้า]]<ref>{{cite web |url=http://www.merriam-webster.com/dictionary/theism |title= Merriam-Webster Online Dictionary |accessdate=2011-03-18}}</ref> ความหมายอย่างแคบคือเชื่อแบบ[[เอกเทวนิยม]]ว่ามีพระเจ้าองค์เดียวและทรงสัมพันธ์กับการดำรงอยู่ของ[[เอกภพ]]<ref>''The Oxford Dictionary of the Christian Church, Second Edition'', [[OUP]]</ref><ref>''The [[Oxford Dictionary of World Religions]]'' (1997).</ref><ref>''[[Encyclopædia Britannica]]''.</ref> เทวนิยมยังเชื่อว่า[[พระเจ้าเชิงบุคคล|พระเจ้าทรงเป็นบุคคล]] และมีอำนาจปกครองและจัดการโลกและเอกภพ แนวคิดตามแบบแผนนี้อธิบายพระเจ้าในเชิงเอกเทวนิยมซึ่งปรากฏใน[[ศาสนายูดาห์]] [[ศาสนาคริสต์]] [[ศาสนาอิสลาม]] และ[[ศาสนาฮินดู]]ในบางสำนัก คำว่า Theism ตามแนวคิดนี้เกิดขึ้นในช่วง[[การปฏิวัติวิทยาศาสตร์]]ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เพื่อให้ต่างจากคำว่า [[เทวัสนิยม]] ที่เชื่อว่ามีพระเจ้าเป็นอุตตรภาวะสูงสุด แต่พระเจ้ามิได้ทรงแทรกแซงโลกตามธรรมชาติ และมนุษย์รู้จักพระองค์ได้ด้วยการใช้เหตุผล ไม่ใช่โดยการ[[วิวรณ์]] ส่วน[[สรรพเทวนิยม]] เชื่อว่าสรรพสิ่งคือพระเจ้า และ[[พหุเทวนิยม]]เชื่อว่ามี[[เทวดา]]หลายองค์ แต่ละองค์มีอำนาจต่าง ๆ กันไป
 
คำว่า Theism มาจาก ''theos'' ใน[[ภาษากรีก]]ที่แปลว่า [[เทพ]] นักปรัชญาชื่อ Ralph Cudworth ใช้คำนี้เป็นคนแรก<ref>{{cite book|last=Halsey|first=William|coauthors=Robert H. Blackburn, Sir Frank Francis| title =Collier's Encyclopedia|editor=Louis Shores|publisher=Crowell-Collier Educational Corporation|year=1969| edition =20|volume=22|pages=266–7|editor-link=Louis Shores}}
บรรทัด 13:
(page 56 in 1967 edition)
</ref> ถ้าเชื่อว่ารู้ได้ (ว่ามีหรือไม่มี) ก็ถือว่าเป็นเทวนิยมหรืออเทวนิยม (ตามแต่ลักษณะความเชื่อ) เทวนิยมและอเทวนิยมจึงเป็นยืนยันหรือปฏิเสธการดำรงอยู่ของพระเจ้า แต่อไญยนิยมปฏิเสธการรับรู้ [[การไม่มีศาสนา|ผู้ที่ไม่มีศาสนา]]จะไม่เชื่อในเรื่องการมีสิ่งศักดิ์สิทธื์ใด ๆ เลย ศาสนาพุทธอาจจัดว่าเป็นทั้งเทวนิยมและอเทวนิยม นิกาย[[เถรวาท]]และนิกาย[[เซน]] เชื่อในกฎธรรมชาติ สร้างสรรพสิ่ง จัดเป็นอเทวนิยม [[นิกายสุขาวดี]]และ[[วัชรยาน]] เชื่อว่ามีพระ[[อาทิพุทธะ]]เป็นผู้สร้างโลกและสรรพสิ่งเฉกเช่นพระเจ้า จึงอาจจัดนิกายเหล่านี้เป็นเทวนิยมได้
ผิดพลาด tel : 0640834167
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:เทวนิยม|* ]]
[[หมวดหมู่:เทววิทยาอภิธานศัพท์ศาสนา]]