ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระเจ้ารามราชา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
| สีอักษร = #8f5f12
| ภาพ =
| พระอิสริยยศ = [[พระมหากษัตริย์]]แห่ง[[พระเจ้ากรุงศรีอยุธยา]]
| วันพระราชสมภพ = [[พ.ศ. 1899]]
| วันสวรรคต = ไม่ปรากฏ
| พระราชบิดา = [[สมเด็จพระราเมศวร]]
บรรทัด 13:
| พระราชโอรส/ธิดา =
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์อู่ทอง]]
| ทรงราชย์ = [[พ.ศ. 1938]] -[[พ.ศ. 1953]]
| พิธีบรมราชาภิเษก =
| ระยะเวลาครองราชย์ = 15 ปี
บรรทัด 20:
| วัดประจำรัชกาล =
}}
'''สมเด็จพญารามเจ้า''' หรือ '''สมเด็จพระเจ้ารามราชาธิราช''' เป็นพระราชโอรสใน[[สมเด็จพระราเมศวรมหากษัตริย์ไทย]]รัชกาลที่ เสด็จพระราชสมภพเมื่อปี15 พ.ศ.แห่งอาณาจักรอยุธยา 1899 ที่[[เมืองลพบุรี]] พระองค์เสด็จขึ้นทรงครองราชสมบัติต่อจากสมเด็จพระราชบิดาในปีราชย์ระหว่าง พ.ศ. 1938 เมื่อมีพระชนมายุได้- 401952 พรรษา(15 โดยเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 5 แห่ง[[กรุงศรีอยุธยา]]ปี)
ระยะเวลาที่พระองค์ทรงครองราชย์นั้น บ้านเมืองเป็นปกติสุขดี พระองค์ได้ทรงส่งราชทูตไปเจริญทางพระราชไมตรีกับประเทศจีน เมื่อปี [[พ.ศ. 1940]] และก็ได้ส่งทูตแลกเปลี่ยนสัมพันธไมตรีอยู่เสมอในระยะต่อ ๆ มา สมเด็จพระรามราชาธิราชพยายามที่จะขยายอำนาจไปยัง[[อาณาจักรล้านนา]] แต่ไม่เป็นผล ทาง[[อาณาจักรสุโขทัย]]ก็ไม่ได้อยู่ในอำนาจ นอกจากนี้ พระองค์ยังไม่ไว้วางพระทัย[[สมเด็จพระอินทราชา|เจ้านครอินทร์]] พระราชนัดดาใน[[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1]] ซึ่งทางพระเจ้ากรุงจีนให้ความสนิทสนม อีกทั้งยังยกย่องว่าเป็นกษัตริย์อีกพระองค์หนึ่ง
 
== พระราชประวัติ ==
ในปลายรัชสมัยของพระองค์ พระองค์เกิดมีข้อพิพาทกับเจ้าพระยามหาเสนาบดี ผู้เป็น[[อัครมหาเสนาบดี]]และเป็นผู้บังคับบัญชาทหาร เจ้าพระยามหาเสนาบดีได้หนีไปอยู่ฟากปทาคูจาม แล้วได้ร่วมกับเจ้านครอินทร์ ยกกำลังจาก[[เมืองสุพรรณบุรี]]มายึดกรุงศรีอยุธยา แล้วทูลเชิญเจ้านครอินทร์ขึ้นครองราชย์กรุงศรีอยุธยา ส่วนสมเด็จพระรามราชาธิราชได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ไปครองเมืองปทาคูจาม พระองค์ทรงครองกรุงศรีอยุธยาได้ 15 ปี และเสด็จสวรรคตเมื่อปีใดไม่ปรากฏ
สมเด็จพญารามเจ้า มีพระนามเดิมว่า'''เจ้าพญาราม''' เสด็จพระราชสมภพเมื่อปี พ.ศ. 1899 เป็นพระราชโอรสใน[[สมเด็จพระราเมศวร]] ทรงครองราชสมบัติต่อจากสมเด็จพระราชบิดาที่เสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 1938 ขณะมีพระชนมายุได้ประมาณ 21 พรรษา<ref name="หน้า61">''นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย'', หน้า 61</ref>
 
ในรัชสมัยของพระองค์ กรุงศรีอยุธยาเป็นปกติสุข มีการเจริญสัมพันธไมตรีกับ[[ราชวงศ์หมิง|จักรวรรดิต้าหมิง]]ตั้งแต่ปี พ.ศ. 1940 ทำให้อยุธยาเริ่มรับอิทธิพลจากจีนทั้งทางค้า การเมือง วัฒนธรรม และกฎหมาย<ref name="หน้า61"/> ด้านความมั่นคงก็โปรดให้ยกทัพไปตีอาณาจักรล้านนาและอาณาจักรสุโขทัย แต่ไม่สำเร็จ
== อ้างอิง ==
 
{{รายการอ้างอิง}}
[[พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์]] ระบุว่าในปลายรัชสมัย พระองค์พิโรธเจ้าเสนาบดีถึงกับรับสั่งให้จับกุม แต่เจ้าเสนาบดีหนีรอดไปอยู่ฟากปท่าคูจาม แล้วกราบทูลเชิญสมเด็จพระอินทราชาผู้ครองเมือง[[สุพรรณบุรี]] ([[สังคีติยวงศ์]]ระบุว่าเป็นพระเจ้าลุงของพระเจ้ารามราชา) ว่าจะยึดกรุงศรีอยุธยาถวาย เมื่อสมเด็จพระอินทราชาเสด็จถึง เจ้าเสนาบดีก็เข้าปล้นพระนครศรีอยุธยาได้ แล้วทูลเชิญสมเด็จพระอินทราชาขึ้นเสวยราชสมบัติ ส่วนสมเด็จพญารามเจ้าโปรดให้ไปกินเมืองปท่าคูจาม<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)'', หน้า 393-4</ref> แต่สังคีติยวงศ์ระบุว่าทรงถูกสำเร็จโทษ<ref name="หน้า62">''นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย'', หน้า 62</ref>
* {{cite book
 
| last =
== รายการอ้างอิง ==
| first =
; เชิงอรรถ
| authorlink =
{{รายการอ้างอิง|2}}
| title = [[พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา]]
 
| publisher = สำนักงานพิมพ์โอเดียนสโตร์
; บรรณานุกรม
| series = [[สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] ทรงนิพนธ์อธิบายประกอบ
{{เริ่มอ้างอิง}}
| year = พ.ศ. 2510
* {{อ้างหนังสือ | ผู้แต่ง = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | ชื่อหนังสือ = นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย | URL = https://www.tmd.go.th/Thai_king_directories.pdf| พิมพ์ที่ = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | จังหวัด = กรุงเทพฯ | ปี = 2554 | ISBN = 978-616-7308-25-8| จำนวนหน้า = 264}}
| doi =
* {{cite book | last =| first =| authorlink = | title = [[พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา]] | publisher = สำนักงานพิมพ์โอเดียนสโตร์| series = [[สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] ทรงนิพนธ์อธิบายประกอบ| year = พ.ศ. 2510| doi = | isbn = }}
| isbn =
* {{cite book | last =| first =| authorlink = | title = [[พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์]] | publisher = สำนักงานพิมพ์คลังวิทยา| series =
}}
| year = พ.ศ. 2510| doi = | isbn = }}
* {{cite book
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = | ชื่อหนังสือ = พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น| จังหวัด = นนทบุรี| พิมพ์ที่ = ศรีปัญญา| ปี = 2553| ISBN = 978-616-7146-08-9| จำนวนหน้า = 800}}
| last =
== {{จบอ้างอิง ==}}
| first =
| authorlink =
| title = [[พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์]]
| publisher = สำนักงานพิมพ์คลังวิทยา
| series =
| year = พ.ศ. 2510
| doi =
| isbn =
}}
 
== ดูเพิ่ม ==
เส้น 59 ⟶ 50:
|สี3 = #E9E9E9
|รูปภาพ = Seal of Ayutthaya (King Narai).png
|ตำแหน่ง = พระมหากษัตริย์แห่ง[[อาณาจักรพระเจ้ากรุงศรีอยุธยา]]<br>([[ราชวงศ์อู่ทอง]])
|ช่วงเวลา = [[พ.ศ. 1938]] - [[พ.ศ. 1952]]
|ก่อนหน้า = [[สมเด็จพระราเมศวร]] (ครั้งที่ 2)<br/>([[ราชวงศ์อู่ทอง]])
|วาระก่อนหน้า = ([[พ.ศ. 1931]] - [[พ.ศ. 1938]])
|ถัดไป = [[สมเด็จพระอินทราชา]]<br/>([[ราชวงศ์สุพรรณภูมิ]])
|วาระถัดไป = ([[พ.ศ. 1952]] - [[พ.ศ. 1967]])
}}
{{จบกล่อง}}
เส้น 70 ⟶ 61:
{{พระมหากษัตริย์ไทย}}
{{พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา}}
 
{{เรียงลำดับ|รามราชา}}
{{อายุขัย|1899|1950UNKNOWN}}
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ในราชวงศ์อู่ทอง]]