ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เพนิซิลลิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Bill-RUANG (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 23:
}}
'''เพนิซิลิน''' ({{lang-en|Penicillins}}) หรือ '''ฟีนอกซิลเมตทิลเพนิซิลลิน ''' (Phenoxymethylpenicillin-Penicillin V) คือกลุ่มของยาที่อยู่ในกลุ่มหลักๆที่เรียกกันว่า บีตา-แลคแทม (Bβ-lactam) คุณสมบัติของยานี้คือเป็นยาที่ใช้รักษาในการติดเชื้อจากแบคทีเรีย
 
== การออกฤทธิ์ ==
เพนิซิลินออกฤทธิ์โดยการขัดขวางการสร้างผนังเซลล์ของแบคทีเรีย ทำให้โดยเฉพาะ[[แบคทีเรียกรัมบวก|แบคทีเรียตายในที่สุดแกรมบวก]] แต่ปัจจุบันนี้พบโดยการดื้อยาของแบคทีเรียที่มีต่อยาเพนิซิลินยับยั้งการสร้างครอสลิงค์ ผ่านกลไกที่ตัว(crosslink) ระหว่างสายของแบคทีเรียสร้างสารเคมีมาทำลายส่วนประกอบของยา[[เปบทิโดไกลแคน]] (peptidoglycan) ทำให้ยาไม่สามารถออกฤทธิ์ได้ จึงต้องใช้ยาอื่นในการรักษาผนังเซลล์แบคทีเรียที่ดื้อต่อยาเหล่านี้อ่อนแอและถูกทำลาย
 
ปัจจุบันนี้พบการดื้อยาของแบคทีเรียที่มีต่อยาเพนิซิลิน ผ่านกลไกที่ตัวของแบคทีเรียสร้างสารเคมีมาทำลายส่วนประกอบของยา ทำให้ยาไม่สามารถออกฤทธิ์ได้ เช่น เอนไซม์''บีตาแลคแทมเมส'' (β-lactamase) ที่แบคทีเรียบางชนิดสร้างขึ้นจะไปตัด'''วงบีตาแลคแทม'''ในโมเลกุลของเพนิซิลินหรือยากลุ่มบีตาแลคแทมอื่นๆ ได้ จึงต้องใช้ยาอื่นในการรักษาแบคทีเรียที่ดื้อต่อยาเหล่านี้
 
• '''อาหารมีผลต่อการออกฤทธิ์ยาเพนิซิลินหรือไม่'''
เส้น 94 ⟶ 96:
** ลำไส้อักเสบท้องเสีย (Pseudomembranous colitis)
 
เนื่องจากแบคทีเรียสามารถสร้างสารเคมีมาทำลายยาจึงทำให้ยากลุ่มนี้ไม่สามารถออกฤทธิ์ได้ สารเคมีที่แบคทีเรียสร้างนั้นเรียกว่า เบต้า'''บีตา-แลกแตมเมสแทมเมส''' (Bβ-lactamlactamase) ดังนั้นจึงได้มีการคิดค้นสารเคมีบางอย่างเพื่อที่จะไปยับยั้งเบต้า-แลกแตมเมส สารเคมีที่ว่านี้ชื่อว่า เบต้า'''บีตา-แลกแตมเมสแทมเมส อินฮิบิเตอร์''' (Bβ-lactamase inhibitor) ซึ่งพบว่าเมื่อนำสารนี้ใส่ร่วมกับยาเพนิซิลินแล้วทำให้ประสิทธิภาพการทำงานของยาดีขึ้น นั่นคือเชื้อดื้อยาน้อยลงนั้นเอง แต่สารนี้สามารถเหนี่ยวนำให้ผู้ใช้ยามีอาการท้องเสียได้เช่นกัน สารเคมีที่ว่านี้แบ่งออกได้เป็นสามตัว คือ
* คลาวูลานิก เอซิด (Clavulanic acid) จะใช้ผสมกับยา อะม็อกซี่ซิลิน (Amoxicillin) หรือ ไทคาร์ซิลิน (Ticarcillin)
* ซัลแบกแตม (Sulbactam) จะใช้ผสมกับตัวยา แอมพิซิลิน (Ampicillin)