ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุทยานแห่งชาติแก่งกรุง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องเขตคุ้มครอง
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[หมวดหมู่:| name = อุทยานแห่งชาติในจังหวัดสุราษฎร์ธานี|กแก่งกรุง]]
'''อุทยานแห่งชาติแก่งกรุง''' ตั้งอยู่ในพื้นที่[[จังหวัดสุราษฎร์ธานี]] ครอบคลุมพื้นที่[[อำเภอท่าชนะ]] [[อำเภอไชยา]] [[อำเภอท่าฉาง]] [[อำเภอวิภาวดี]] เป็นอุทยานที่มีสภาพป่าเป็นเทือกเขาสลับซับซ้อน มีสถานที่น่ารื่นรมย์สำหรับพักผ่อนหย่อนใจ เช่น น้ำตก ลำน้ำ บ่อน้ำร้อน ภูเขา ซึ่งมีทัศนียภาพที่สวยงาม เป็นป่าต้นน้ำลำธารที่หล่อเลี้ยงชาวจังหวัดสุราษฎร์ธานีและ[[จังหวัดชุมพร]] มีเนื้อที่ประมาณ 338,125 ไร่ หรือ 541 ตารางกิโลเมตร แก่งกรุงเป็นชื่อแก่งขนาดใหญ่ในลำน้ำคลองยัน ในอดีต[[การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย]]ดำเนินการสำรวจเพื่อก่อสร้างเขื่อนอเนกประสงค์ ปัจจุบันได้ชะลอโครงการดังกล่าวไว้
| iucn_category = II
[[ไฟล์:doraeminmon045.jpg|right|150px]]
| map = Thailand
| lat_d = 9
| lat_m = 31
| lat_s = 59
| lat_NS = N
| long_d = 98
| long_m = 49
| long_s = 38
| long_EW = E
| caption =
| location = [[อำเภอไชยา]] [[อำเภอท่าฉาง]] [[อำเภอท่าชนะ]] และ[[อำเภอวิภาวดี]] [[จังหวัดสุราษฎร์ธานี]] {{flagcountry|Thailand}}
| skyline = doraeminmon045.jpg
| skyline_caption = อุทยานแห่งชาติแก่งกรุง
| area = 545.81 ตารางกิโลเมตร (341,131.10 ไร่)<ref>ส่วนภูมิสารสนเทศ. สำนักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. "รายงานสรุปพื้นที่ป่าอนุรักษ์ในความรับผิดชอบของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช พื้นที่รวม 72.046 ล้านไร่ (คำนวณในระบบ GIS)." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www2.dnp.go.th/gis/รูปอัพเว็บ/สรุปพื้นที่ป่า.pdf 2557. สืบค้น 3 สิงหาคม 2560.</ref>
| established = [[5 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2534|2534]]
| visitation_num = 647 คน<ref>กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. "ตารางที่ 10 จำนวนผู้เข้าไปท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2555–2559." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [http://www.dnp.go.th/statistics/2559/%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%87%2010%20%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%9B%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%99%20%E0%B8%9B%E0%B8%B5%202555-2559%20(1%E0%B8%81.%E0%B8%9E.60).xls http://www.dnp.go.th/statistics/2559/ตาราง 10 จำนวนผู้เข้าไปท่องเที่ยวในอุทยาน ปี 2555-2559 (1ก.พ.60).xls] 2560. สืบค้น 3 สิงหาคม 2560.</ref>
| visitation_year = ปีงบประมาณ 2559
| governing_body = [[สำนักอุทยานแห่งชาติ]]
}}
 
'''อุทยานแห่งชาติแก่งกรุง''' ตั้งอยู่ในพื้นที่[[จังหวัดสุราษฎร์ธานี]] ครอบคลุมพื้นที่[[อำเภอท่าชนะ]] [[อำเภอไชยา]] [[อำเภอท่าฉาง]] และ[[อำเภอวิภาวดี]] เป็นอุทยานที่มีสภาพป่าเป็นเทือกเขาสลับซับซ้อน มีสถานที่น่ารื่นรมย์สำหรับพักผ่อนหย่อนใจ เช่น น้ำตก ลำน้ำ บ่อน้ำร้อน ภูเขา ซึ่งมีทัศนียภาพที่สวยงาม เป็นป่าต้นน้ำลำธารที่หล่อเลี้ยงชาวจังหวัดสุราษฎร์ธานีและ[[จังหวัดชุมพร]] มีเนื้อที่ประมาณ 338,125 ไร่ หรือ 541 ตารางกิโลเมตร แก่งกรุงเป็นชื่อแก่งขนาดใหญ่ในลำน้ำคลองยัน ในอดีต[[การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย]]ดำเนินการสำรวจเพื่อก่อสร้างเขื่อนอเนกประสงค์ ปัจจุบันได้ชะลอโครงการดังกล่าวไว้
 
== ประวัติ ==
จากการที่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ได้มีโครงการสร้างเขื่อนแก่งกรุง บริเวณที่ดินป่าท่าชนะ อันจะก่อให้เกิดปัญหาบุกรุกพื้นที่รอบอ่างเก็บน้ำ และกรมป่าไม้ได้มีคำสั่งที่ 1169/2532 ลงวันที่ 31 กรกฎาคม 2532 ให้ นายเดชาวุธ เศรษฐพรรค์ นักวิชาการป่าไม้ 5 ไปสำรวจพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูลเบื้องต้น บริเวณพื้นที่อ่างเก็บน้ำแก่งกรุง และพื้นที่ป่าในเขตป่าสงวนแห่งชาติท่าชนะ และป่าเตรียมการสงวนคลองสก-คลองแสง-คลองยัน ในท้องที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ปรากฏว่าบริเวณดังกล่าว เป็นป่าดิบชื้นที่อุดมสมบูรณ์มากประกอบด้วยพันธุ์ไม้มีค่าหลายชนิดอย่างหนาแน่น มีสัตว์ป่าชุกชุม และนกนานาชนิด นอกจากนี้ยังมีจุดเด่นทางธรรมชาติที่สวยงามและสำคัญยิ่ง คือ ป่าส่วนนี้เป็นแหล่งต้นน้ำลำธารที่หล่อเลี้ยงชาวจังหวัดสุราษฎร์ธานี และจังหวัดชุมพร ต่อมา[[กรมป่าไม้]]ได้มีคำสั่งที่ 892/2532 ลงวันที่ 24 พฤศจิกายน 2532 ให้ นายเดชาวุธ เศรษฐพรรค์ ไปดำเนินการสำรวจข้อมูลเพิ่มเติม และจัดตั้งพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าท่าชนะ และป่าเตรียมการสงวนคลองสก-คลองแสง-คลองยัน ท้องที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ
 
[[กองอุทยานแห่งชาติ]] ได้รับรายงานจาก นายเดชาวุธ เศรษฐพรรค์ ตามหนังสือ ที่ กษ 0713/พิเศษ ลงวันที่ 26 ธันวาคม 2532 เห็นสมควรใช้ชื่ออุทยานแห่งนี้ว่า "อุทยานแห่งชาติคลองยัน”ยัน" เนื่องจากเป็นคลองสำคัญและเป็นจุดเด่นในพื้นที่ แต่กองอุทยานแห่งชาติได้พิจารณาเห็นว่า เนื่องจากพื้นที่ดังกล่าวรัฐบาลมีโครงการสร้างเขื่อนแก่งกรุง ประกอบกับชื่อแก่งกรุง เป็นที่รู้จักกันแพร่หลาย จึงเห็นสมควรใช้ชื่ออุทยานแห่งนี้ว่า "อุทยานแห่งชาติแก่งกรุง” กรุง" [[ไฟล์:doraeminmon046.jpg|right|150px]]
 
กรมป่าไม้จึงได้เสนอคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ ครั้งที่ 1/2533 เห็นสมควรให้ดำเนินการตรา[[พระราชกฤษฎีกา]]กำหนดพื้นที่ป่าท่าชนะ ในท้องที่ตำบลคันธุลี ตำบลคลองพา ตำบลสมอทอง ตำบลประสงค์ อำเภอท่าชนะ ตำบลปากหมาก อำเภอไชยา ตำบลปากฉลุย และตำบลตะกุกเหนือ อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2534 ได้ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 108 ตอนที่ 211 เป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่ 69 ของประเทศ
 
== ลักษณะภูมิประเทศ ==
ลักษณะภูมิประเทศเป็นเทือกเขาสลับซับซ้อนสองแนวเหนือ-ใต้ ประกอบด้วย เขาไฝ เขาแดน เขายายหม่อน มียอดเขาสูงสุดประมาณ 849 เมตรจากระดับน้ำทะเล ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่มีลักษณะเป็นเขาดิน แร่ที่สำคัญที่มีอยู่บริเวณนี้คือ แร่ดีบุก เป็นแหล่งต้นน้ำสำคัญคือ ลำน้ำคลองยัน ต้น[[แม่น้ำตาปี]]ทางทิศใต้ และลำน้ำคลองสระ ต้นแม่น้ำหลังสวนด้านทิศเหนือ ซึ่งประกอบด้วยคลองและลำห้วยเล็กๆ มากมาย ได้แก่ คลองสระ คลองชง ห้วยลาชี ห้วยหินโล่ ห้วยเขาแดน ห้วยปลาย ห้วยป่าหมาก และคลองยัน [[ไฟล์:doraeminmon047.jpg|right|150px]]
 
== ลักษณะภูมิอากาศ ==
สภาพโดยทั่วไปเป็นป่าดิบชื้น จึงทำให้มีฝนตกเกือบตลอดทั้งปีและมีอากาศค่อนข้างเย็น
 
เส้น 25 ⟶ 46:
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{ขาดอ้างอิง}}
 
{{อุทยานแห่งชาติในประเทศไทย}}
[[หมวดหมู่:อุทยานแห่งชาติในจังหวัดสุราษฎร์ธานี|แก่งกรุง]]
{{Coord|9|37|N|98|50|E|type:waterbody|display=title}}
 
[[หมวดหมู่:อุทยานแห่งชาติในจังหวัดสุราษฎร์ธานี|กแก่งกรุง]]