ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องหมาย (มุทราศาสตร์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
การแบ่งเครื่องหมายออกเป็น “แถบ” หรือ “แถบย่อย” และกลุ่มอื่นๆ เป็นระเบียบใหม่ที่เป็นที่คัดค้านโดยนักเขียนเกี่ยวกับมุทราศาสตร์หลายคนที่รวมทั้งฟ็อกซ์-เดวิส<ref>See "CHAPTER IX: THE SO-CALLED ORDINARIES AND SUB-ORDINARIES" in Fox-Davies (1909) ''A Complete Guide to Heraldry''.</ref> ความสำคัญและความหมายของเครื่องหมายจะได้รับการระบุใน[[นิยามของตรา]]
 
คำว่า “charge” (“เครื่องหมาย”) อาจจะใช้เป็นคำกิริยา เช่นถ้าโล่มี[[สิงห์โต (อิสริยาภรณ์)|สิงห์โต]]สามตัวก็จะนิยามว่า ''charged with three lions'' (เครื่องหมายด้วยสิงห์สามตัว) หรือ [[เครื่องยอด (อิสริยาภรณ์)|เครื่องยอด]]หรือตัว “เครื่องหมาย” เองก็อาจจะเป็น “เครื่องหมาย” ได้ เช่นเป็นปีกเหยี่ยวคู่ ''charged with trefoils'' (เป็นเครื่องหมายจิกสามแฉก) (เช่น[[ตราแผ่นดินของบรานเดนบวร์กรันเดินบวร์ค]]) สิ่งสำคัญคือการแสดงความแตกต่างระหว่าง “[[แถบ (อิสริยาภรณ์)|แถบ]]” (ordinaries) กับ “[[ช่องตรา (อิสริยาภรณ์)|ช่องตรา]]” (divisions of the field) เพราะเครื่องหมายทั้งสองอย่างนี้ใช้วิธีนิยามเดียวกัน เช่นโล่ ''divided'' "per chevron" (ช่องแบ่งด้วยแถบ[[แถบเชฟรอน (อิสริยาภรณ์)|เชฟรอน]]) ที่ต่างจาก ''charged with chevron'' (เป็นเครื่องหมาย[[แถบเชฟรอน (อิสริยาภรณ์)|เชฟรอน]])
 
สิ่งต่างที่ใช้เป็นเครื่องหมายมาจากธรรมชาติ ตำนาน หรือเทคโนโลยี สิ่งต่างๆ ที่ใช้เป็นเครื่องหมายก็ได้แก่[[กางเขน]]ที่เป็นเครื่องหมายของคริสต์ศาสนา [[เหยี่ยวในมุทราศาสตร์|เหยี่ยว]] [[สิงห์โตในมุทราศาสตร์|สิงห์โต]] หรือ สิ่งก่อสร้าง