ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความหลากหลายทางพันธุกรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
Tikmok ย้ายหน้า ความหลากหลายทางพันธุกรรม ไปยัง ความผันแปรได้ทางพันธุกรรม: ตามราชบัณฑิตยสถ...
 
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
แปลจากวิกิอังกฤษ
ป้ายระบุ: ผู้ใช้แก้หน้าเปลี่ยนทาง
บรรทัด 1:
#เปลี่ยนทาง{{ระวังสับสน [[|ความผันแปรได้ทางพันธุกรรม]] (genetic variability)|ความแตกต่างทางพันธุกรรม (genetic variation)}}
{{Evolutionary biology}}
{{ชีววิทยาวิวัฒนาการ}}
<!-- บทอื่น ๆ ที่เปลี่ยนทางมายังบทความนี้:
ความหลากหลายทางพันธุกรรม, ความหลากหลายของยีน, ความหลากหลายทางพันธุกรรม (genetic diversity), ความหลากหลายของยีน (genetic diversity)
Genetic diversity
-->
'''ความหลากหลายทางพันธุกรรม'''<ref name=RoyalDict>{{Citation | title = diversity | quote = (วิทยาศาสตร์) ความหลากหลาย | work = ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑ ฉบับ ๒๕๔๕ }}</ref>
({{lang-en |Genetic diversity}})
เป็นจำนวนลักษณะทางพันธุกรรมทั้งหมดของ[[สปีชีส์]]
ซึ่งแยกจาก "[[ความผันแปรได้ทางพันธุกรรม]]" (genetic variability) ซึ่งหมายถึงความโน้มเอียงของลักษณะทางพันธุกรรมที่จะต่างกัน
 
ความหลากหลายทางพันธุกรรมเป็นกลไกหนึ่ง ที่ประชากร[[สิ่งมีชีวิต]][[การปรับตัว (นิเวศวิทยา)|ปรับตัว]]ให้เข้ากับ[[สิ่งแวดล้อม]]ที่กำลังเปลี่ยนไป
ถ้าประชากรมีความแตกต่างกันมาก หน่วย[[สิ่งมีชีวิต]]บางหน่วยในกลุ่มประชากรก็จะมีโอกาสมี[[อัลลีล]]ในรูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับสิ่งแวดล้อมมากกว่า
และก็จะมีโอกาสรอดชีวิตแล้วสร้างทายาทที่มีอัลลีลที่ว่ามากกว่าหน่วยอื่น ๆ
กลุ่มประชากรก็จะดำเนินไปได้ในรุ่นต่อ ๆ ไปเพราะความสำเร็จของหน่วยสิ่งมีชีวิตเหล่านั้น<ref>{{Cite web | title = National Biological Information Infrastructure | work = Introduction to Genetic Diversity | publisher = U.S. Geological Survey | url = http://www.nbii.gov/portal/server.pt?open=512&objlD=405&PageID=O&cached=true&mode=2&userlD=2 | accessdate = 2011-03-01 Ideadurl=yes | archiveurl = https://web.archive.org/web/20110225072641/http://www.nbii.gov/portal/server.pt?open=512&objlD=405&PageID=O&cached=true&mode=2&userlD=2 | archivedate = 2011-02-25 }}</ref>
 
สาขา[[พันธุศาสตร์ประชากร]]มี[[สมมติฐาน]]และ[[ทฤษฎี]]หลายอย่างเกี่ยวกับความหลากหลายทางพันธุกรรม
'''ทฤษฎีวิวัฒนาการที่เป็นกลาง''' (neutral theory of evolution) เสนอว่า ความหลากหลายเป็นผลของการสะสมความต่าง ๆ ที่ไม่มีประโยชน์และไม่มีโทษ
'''การคัดเลือกที่แตกต่าง''' (diversifying selection) เป็นสมมติฐานว่า สิ่งแวดล้อมที่ต่างกันของกลุ่มประชากรย่อย 2 กลุ่มภายในสปีชีส์เดียวกัน จะคัดเลือกอัลลีลใน[[โลคัส (พันธุศาสตร์)|โลคัส]]เดียวกันที่ต่างกัน
ซึ่งอาจเกิดขึ้นในกรณีเช่น ถ้าสปีชีสนั้นมีถิ่นที่อยู่กว้างเทียบกับการเคลื่อนที่ได้ของหน่วยสิ่งมีชีวิตในกลุ่มนั้น
'''การคัดเลือกขึ้นกับความถี่''' (frequency-dependent selection) เป็นสมมติฐานว่า เมื่ออัลลีลหนึ่ง ๆ สามัญมากขึ้น สิ่งมีชีวิตก็จะเสี่ยงสูงขึ้น
ซึ่งสามารถเกิดอาศัยปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวถูกเบียน-ตัวก่อโรค (host-pathogen interaction) ที่เมื่อสิ่งมีชีวิต (ตัวถูกเบียน) มีความถี่อัลลีลที่เป็นตัวป้องกันโรคสูง โรคก็มีโอกาสแพร่ไปมากขึ้นถ้ามันสามารถเอาชัยชนะต่ออัลลีลนั้นได้
 
== เชิงอรรถและอ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง |30em}}
 
{{โครงชีววิทยา}}
[[หมวดหมู่:ความหลากหลายทางชีวภาพ]]
[[หมวดหมู่:ชีวชาติ]]
[[หมวดหมู่:ชีววิทยาอนุรักษ์]]
[[หมวดหมู่:นิเวศวิทยา]]
[[หมวดหมู่:สปีชีส์]]
[[หมวดหมู่:พันธุศาสตร์ประชากร]]
[[en:Genetic diversity]]