ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิจจสมุปบาท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ Budōkan (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย พุทธามาตย์
Budōkan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
บรรทัด 75:
(ภิกฺขเว ยา ตตฺร ตถตา อวิตถตา อนฺถตา อิทปฺปจฺจยตา อย วุจฺจติ ภิกฺขเว ปฏิจฺจสมุปฺปาโท) </small>
 
จาก ติตถายตนสูต สูตรที่ ๑ มหาวรรค ติก. อํ. ๒๐/๒๒๗/๕๐๑
 
''ทุกขอริยสัจ เป็นอย่างไรคือ แม้ชาติ(ความเกิด)ก็เป็นทุกข์ แม้ชรา(ความแก่)ก็เป็นทุกข์ แม้มรณะ(ความตาย)ก็เป็นทุกข์ แม้โสกะ(ความโศก) แม้ปริเทวะ(ความคร่ำครวญ) ทุกข์(ความทุกข์กาย) โทมนัส(ความทุกข์ใจ) อุปายาส(ความคับแค้นใจ)ก็เป็นทุกข์ ความประสบกับสิ่งที่ไม่เป็นที่รักก็เป็นทุกข์ ความพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รักก็เป็นทุกข์ ปรารถนาสิ่งใดไม่ได้สิ่งนั้นก็เป็นทุกข์ โดยย่อ อุปาทานขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ นี้เรียกว่า ทุกขอริยสัจ''
''ทุกขสมุทัยอริยสัจ เป็นอย่างไรคือ เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย สังขารจึงมีเพราะ สังขารเป็นปัจจัย วิญญาณจึงมี เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย นามรูปจึงมี เพราะนามรูปเป็นปัจจัย สฬายตนะจึงมี เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย ผัสสะจึงมี เพราะผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาจึงมี เพราะเวทนาเป็นปัจจัย ตัณหาจึงมี เพราะตัณหาเป็นปัจจัย อุปาทานจึงมี เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย ภพจึงมี เพราะภพเป็นปัจจัย ชาติจึงมี เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาสจึงมี กองทุกข์ทั้งมวลนี้มีความเกิดขึ้นด้วยอาการอย่างนี้ นี้เรียกว่า ทุกขสมุทัยอริยสัจ''
 
''ทุกขนิโรธอริยสัจ เป็นอย่างไร คือ เพราะอวิชชาสำรอกดับไป สังขารจึงดับ เพราะสังขารดับ วิญญาณจึงดับ เพราะวิญญาณดับ นามรูปจึงดับ เพราะนามรูปดับ สฬายตนะจึงดับ เพราะสฬายตนะดับ ผัสสะจึงดับ เพราะผัสสะดับ เวทนาจึงดับ เพราะเวทนาดับ ตัณหาจึงดับ เพราะตัณหาดับ อุปาทานจึงดับ เพราะอุปาทานดับ ภพจึงดับ เพราะภพดับ ชาติจึงดับ เพราะชาติดับ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาสจึงดับ กองทุกข์ทั้งมวลนี้ย่อมมีความดับด้วยอาการอย่างนี้ นี้เรียกว่า ทุกขนิโรธอริยสัจ''
 
''ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ เป็นอย่างไรคือ อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้ ได้แก่๑. สัมมาทิฏฐิ (เห็นชอบ) ๒. สัมมาสังกัปปะ (ดำริชอบ)๓. สัมมาวาจา (เจรจาชอบ) ๔. สัมมากัมมันตะ (กระทำชอบ)๕. สัมมาอาชีวะ (เลี้ยงชีพชอบ)๖. สัมมาวายามะ (พยายามชอบ)๗. สัมมาสติ (ระลึกชอบ) ๘. สัมมาสมาธิ (ตั้งจิตมั่นชอบ)นี้เรียกว่า ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
เพราะอาศัยคำที่เรากล่าวไว้ว่า ธรรมที่เราแสดงไว้ว่า “อริยสัจ ๔ ประการนี้”
ใครๆ ข่มไม่ได้ ไม่มัวหมอง ไม่ถูกตำหนิ ไม่ถูกสมณพราหมณ์ผู้รู้แจ้งคัดค้าน
เราจึงกล่าวไว้เช่นนั้น''
 
 
''ภิกษุทั้งหลาย ความจริงแท้ ความไม่คลาดเคลื่อน ความไม่เป็นอย่างอื่น มูลเหตุอันแน่นอนในธาตุอันนั้น ดังพรรณนามาฉะนี้แล เราเรียกว่าปฏิจจสมุปบาท''
== อ้างอิง ==
{{เริ่มอ้างอิง}}
เส้น 81 ⟶ 96:
* [http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=10&A=1455&Z=1887 มหานิทานสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐]
* [http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=16&A=590&Z=641 ปัจจัยสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๖]
* [[พุทธทาส|พุทธทาสภิกขุ]]. "[http://www.pantip.com/~buddhadasa/self/self_index.html ตัวกู-ของกู ฉบับย่อความ]".
* [http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=20&siri=106#p242 ติตถายตนสูตร พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๐]
{{จบอ้างอิง}}