ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อึ้งเอี๊ยะซือ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
HuangYaoshi (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเติมเนื้อหา
บรรทัด 17:
'''สถานที่พักอาศัย :''' เกาะดอกท้อ
 
'''บุคคลิกและลักษณะนิสัย''' ''':''' อึ้งเอี๊ยะซือเป็นบุคคคลที่เฉลียวฉลาด ไหวพริบ ปฏิภาณเป็นเลิศ สุขุม รอบคอบ แต่มีนิสัยแปลกประหลาด ชอบทำอะไรตามใจตัวเอง บางครั้งก็เป็นคนมีเหตุผล บางครั้งก็ไร้เหตุผล อารมณ์แปรปรวนไม่คงที่ เขาเป็นคนที่เกลียดขนบธรรมเนียมประเพณีและกฎเกณฑ์ที่คร่ำครึโบราณ เป็นคนที่มีลักษณะ '''''ธรรมะ 7 ส่วน อธรรม 7 ส่วน''''' เป็นคนที่มักทำตัวลึกลับ ไปมาไร้ร่องรอย ไม่ค่อยปรากฏตัวง่ายๆ หากจำเป็นต้องแสดงตัว จะสวมหน้ากากปิดบังหน้าตาที่แท้จริงไว้ ด้วยบุคคลิกและลักษณะนิสัยของอึ้งเอี๊ยะซือที่เป็นเช่นนี้ ทำให้ผู้คนต่างหวาดกลัวและเกลียดชัง และมองว่าอึ้งเอี๊ยะซือเป็นพวกนอกรีต บรรดาชาวยุทธจึงพากันขนานนามอึ้งเอี๊ยะซือว่า '''''มาร''''' หรือ '''''มารเฒ่า'''''
 
'''ความสามารถ :''' อึ้งเอี๊ยะซือ จัดว่าเป็นตัวละครที่สมบูร์แบบเพียงคนเดียวในนวนิยายเลยก็ว่าได้ เพราะเป็นผู้ที่มีความสามารถแทบทุกด้าน คือ
บรรทัด 52:
 
ฝ่ามือตัดอากาศ ( '''劈空掌''' )
 
2.6 วิชาเท้า ได้แก่ บาทาพายุกวาดใบไม้ ( 旋風掃葉腿 )
 
เป็นบิดาของ[[อึ้งย้ง]] เป็นประมุข[[เกาะดอกท้อ]] และเป็น 1 ในห้ายอดฝีมือ มีฉายาว่า '''มารบูรพา''' (บางฉบับแปลใช้คำว่า '''ภูตบูรพา''') เป็นบุคคลเฉลียวฉลาดไม่ว่าจะบุ๋นหรือบู๊ สุขุมรอบคอบ แต่บางครั้งอารมณ์ก็แปรปรวนไม่คงที่ เกลียดขนบประเพณีโบราณคร่ำครึ อึ้งเอี๊ยะซือมีฝีมือในด้านกระบี่ ดนตรี หมากรุก หนังสือ ภาพวาด การแพทย์ และค่ายกล วรยุทธของมารบูรพานับว่า
พิสดารและหาได้ยาก ได้แก่ ฝ่ามือเทพกระบี่สยบผู้กล้า เพลงกระบี่ขลุ่ยหยกมังกรทะยาน ฝ่ามือปัดจุดกล้วยไม้ เพลงเตะพายุรวบใบไม้ และ ยอดวิชานิ้วดีด(ดรรชนีเส่งคุณ) ที่เทียบได้กับดรรนีเอกสุริยันของตระกูลต้วน อึ้งเอี๊ยะซือมักทำตัวลึกลับ ไปมาไร้ร่องรอย ไม่ค่อยปรากฏตัวง่ายๆ หากจำเป็นต้องแสดงตัวจะสวมหน้ากากปิดบังหน้าตาที่แท้จริงไว้ อึ้งเอี๊ยะซือเป็นคนที่แก้ค่ายกลเจ็ดดาวที่เฮ้งเต็งเอี้ยงคิดค้นไว้ได้สำเร็จ ตอนที่รับมือกับก๊วยเจ๋งและเหล่านักพรตช้วนจิน
 
ความรักที่มีต่อภรรยาที่ตายจากไปเป็นสิ่งเดียวในชีวิตที่เขายึดติด บุคลิกของ[[ก๊วยเจ๋ง]]ทั้งซื่อทั้งทึ่ทำให้เขาไม่ค่อยชอบ แต่ภายหลังได้พบ[[เอี้ยก้วย]]ที่มีลักษณะ คล้ายกับตนเอง (ธรรมะมีธรรม 7 ส่วน, อธรรมมีธรรมะ 7 ส่วน) ส่งผลให้คบหาเป็นสหายต่างวัย