ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อเล็กซานเดอร์ เฟลมมิง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการก่อกวน 1 ครั้งของ 159.192.230.106 (พูดคุย) ไปยังรุ่นโดย 202.29.178.161.ด้วย...
Watanyu (คุย | ส่วนร่วม)
Roughly translated from wikipedia english
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ: สลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{Infobox scientist
{{ขาดอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Alexander-fleming.jpg|thumb| name = เซอร์ อเล็กซานเดอร์ เฟลมมิง]]
 
| image = Synthetic Production of Penicillin TR1468.jpg
'''เซอร์ อเล็กซานเดอร์ เฟลมมิง''' ({{lang-en|Sir Alexander Fleming}}) เป็นนักชีววิทยาและนักเภสัชวิทยาชาวสก็อตแลนด์ เกิดเมื่อวันที่ [[6 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2424]] ในดาร์เวล ประเทศ[[สก็อตแลนด์]] เสียชีวิตในวันที่ [[11 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2498]] ที่กรุง[[ลอนดอน]] [[ประเทศอังกฤษ]] เขาเป็นผู้ค้นพบเชื้อราชนิดหนึ่งชื่อว่า''[[เพนนิซิลเลียม]] (Penicilliam)'' ซึ่งต่อมาได้นำมาสกัดเป็นยา'''[[เพนนิซิลลิน]] (Penicilin)'''
| caption =
| birth_date = {{birth date|1881|08|06|df=yes}}
| birth_place = [[ล็อกช์ฟิลล์]], [[อีสอายไชร์]], [[สก็อตแลนด์]]
| death_date = {{Death date and age|1955|03|11|1881|08|6|df=yes}}
| death_place = [[ลอนดอน]], อังกฤษ
| citizenship = [[สหราชอาณาจักร]]
| field = [[แบคทีเรียวิทยา]], [[ภูมิคุ้มกันวิทยา]]
| alma_mater = {{hlist|[[มหาวิทยาลัยเวสมินสเตอร์|Royal Polytechnic Institution]]|[[วิทยาลัยแพทย์ โรงพยาบาลเซนต์แมรี่]]|[[อิมพิเรียล คอลเลจ]]}}
| doctoral_advisor =
| doctoral_students =
| known_for = [[การค้นพบเพนิซิลิน]]
| influences =
| influenced =
| prizes = {{Plainlist|
* [[Fellow of the Royal Society|FRS]] (1943)<ref name="frs">{{Cite journal | last1 = Colebrook | first1 = L. | authorlink1 = Leonard Colebrook| doi = 10.1098/rsbm.1956.0008 | title = Alexander Fleming 1881-1955 | journal = [[Biographical Memoirs of Fellows of the Royal Society]] | volume = 2 | pages = 117–126 | year = 1956 | jstor = 769479| pmid = | pmc = }}</ref>
{{* [[รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์}}]] (1945)<ref name="NobelPrizeBio" />
* [[Fellow of the Royal Society of Edinburgh|FRSE]]
* [[Fellow of the Royal College of Surgeons of England|FRCS(Eng)]]
* [[Knight Bachelor]] (1944)}}
| ลายเซนต์ = Alexander Fleming signature.svg
}}
 
'''เซอร์ อเล็กซานเดอร์ เฟลมมิง''' ({{lang-en|Sir Alexander Fleming}}) เป็นแพทย์ นักชีววิทยา นักเภสัชวิทยา และนักพฤกษศาสตร์ชาวสก็อตแลนด์ เกิดเมื่อวันที่ [[6 สิงหาคม]] [[ค.ศ.1881]] ในดาร์เวล ประเทศ[[สก็อตแลนด์]] ผลงานที่มีชื่อเสียงที่สุดของเขาคือการค้นพบ[[เอนไซม์]][[ไลโซไซม์]]ในปี ค.ศ. 1923 และการค้นพบสารเบนซิลเพนนิซิลิน(เพนนิซิลิน จี) จากเชื้อรา [[pennicilium notatum]] ในปี ค.ศ.1928 ซึ่งนำไปสู่การพัฒนายาปฏิชีวนะตัวแรกของโลก การค้นพบนี้ทำให้เขาได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือแพทย์]]ในปี ค.ศ.1945<ref name="lesprixnobel">{{cite web|title=Alexander Fleming Biography|url=http://nobelprize.org/nobel_prizes/medicine/laureates/1945/fleming.html|work=Les Prix Nobel| publisher=The Nobel Foundation|year=1945|accessdate=27 March 2011}}</ref><ref>{{cite journal | last= Hugh |first=TB | title = Howard Florey, Alexander Fleming and the fairy tale of penicillin | journal = The Medical journal of Australia | volume = 177 | issue = 1 | pages = 52–53; author 53 53 | year = 2002 | pmid = 12436980 }}</ref><ref name="natureobit">{{cite journal | first= Robert |last=Cruickshank | title = Sir Alexander Fleming, F.R.S | journal = Nature | volume = 175 | issue = 4459 | pages = 663 | year = 1955 | pmid = | pmc = | doi = 10.1038/175663a0 }}</ref>
== ประวัติ ==
เกิดเมื่อวันที่ [[6 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2424]] ในดาร์เวล เมืองอีสต์อายร์ไชร์ ประเทศ[[สก็อตแลนด์]] พ่อของเขาชื่อฮิวจ์ เฟลมมิง (Hugh Fleming) ในวัยเด็กเฟลมมิงเป็นเด็กซุกซน ฉลาดหลักแหลม เมื่อเริ่มเข้าเรียนหนังสือ พ่อของเฟลมมิงได้ส่งเขาเข้าเรียนที่โรงเรียนคาร์เวล (Carwell School) หลังจากนั้นได้เข้าเรียนต่อที่คิลมาร์น็อก อะคาเดมี (Kilmarnock Academy) ต่อมาเขาได้เข้าเรียนต่อวิชาแบคทีเรียวิทยา ที่วิทยาลัยการแพทย์ แห่งโรงพยาบาลเซนต์แมรี่ ในลอนดอน เขาจบการศึกษาในปี [[พ.ศ. 2451]] โดยได้รับเกียรตินิยมอันดับ 1 หลังจากจบการศึกษาเฟลมมิงได้เข้าทำงานเป็นแพทย์ประจำแผนกภูมิคุ้มกันโรค และผู้ช่วยของเซอร์อัลม์โรธ เอ็ดเวิร์ด ไรท์ (Sir Almroth Edward Wright) หัวหน้าแผนกแบคทีเรียวิทยาในโรงพยาบาลเซนต์แมรี่ และเขาได้ค้นพบยาปฏิชีวนะที่สกัดได้จากสิ่งมีชีวิตต่างๆ
 
ในปี [[ค.ศ. 1945]] (พ.ศ. 2488) เขาได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์]] ร่วมกับแอร์นส์ บอริส ไชนและโฮเวิร์ด วอลเตอร์ ฟลอรีย์ ในการค้นพบ''เพนนิซิลลิน เป็นครั้งแรกของประวัติศาสตร์''
 
==ประวัติชีวิตและประวัติการศึกษา==
==แหล่งข้อมูลอื่น==
เซอร์ อเล็กซานเดอร์ เฟลมมิง เกิดวันที่ 6 สิงหาคม ค.ศ. 1881 เกิดที่ดาร์เวล เมืองอีสต์อายร์ไชร์ ประเทศสก็อตแลนด์ ตอนเหนือของสหราชอาณาจักร เขาเป็นลูกคนที่ 3 จากทั้งหมด 4 คน ของ ฮิวจ์ เฟลมมิง ซึ่งประกอบอาชีพเกษตรกรรม ในวัยเด็กเขาเป็นเด็กซุกซนและฉลาดหลักแหลม เฟลมมิงเข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนโลวเดินส์ มัวซ์ และโรงเรียนดาร์เวล ก่อนที่เขาย้ายไปยังลอนดอนเขายัง ได้รับทุนการศึกษา 2 ปีเต็มจากคิวมาร์น็อก อะคาเดมีอีกด้วย เมื่อย้ายไปยังลอนดอนเขาได้เข้าศึกษาที่สถาบัน รอยัล พอลีเทคนิค หลังจากทำงานอยู่ในบริษัทขนส่งสินค้าเป็นเวลาสี่ปี เฟลมมิ่งในวัย 20 ปี ก็ได้รับการเชิญชวนให้เช้าศึกษาวิชาแพทย์ จากทอม พี่ชายของเขาซึ่งเป็นแพทย์ ในปี1903 เขาจึงได้เข้าศึกษาที่โรงพยาบาลเซนต์แมรี่ เมืองแพดดิงตัน ในอีกสามปีต่อมา เขาได้รับปริญญาสาขาแพทย์ศาสตร์บัณฑิตและศัลยศาสตร์บัณฑิต หลังจากจบการศึกษา เขาได้เข้าทำงานเป็นผู้ช่วยด้านแบคทีเรียวิทยาของ เซอร์ อาร์มร็อท ไรท์ ผู้บุกเบิกการรักษาด้วยวัคซีนได้รับและวิชาการศึกษาระบบภูมิคุ้มกัน ในปี1908 เขาปริญญาอีกใบจากสาขาวิทยาศาสตร์บัณฑิต ด้วยเกียรตินิยมเหรียญทอง จากนั้นเขาได้ทำงานเป็นอาจารย์ที่สถาบันเดิมจนถึงปี 1914
*[http://nobelprize.org/nobel_prizes/medicine/laureates/1945/fleming-bio.html ชีวประวัติอเล็กซานเดอร์ เฟลมมิง]
ใน ช่วงปี1914 – 1918 เกิดสงครามโลกครั้งที่สอง เฟลมมิงได้เข้าร่วมในสงครามในฐานะแพทย์ภาคสนามในแนวรบฝั่งตะวันตก ประเทศฝรั่งเศส ร่วมกับเพื่อนร่วมงานของเขา หลังจากสงครามจบ เขาจึงกลับไปทำงานที่โรงพยาบาลเซนต์แมรี่ ซึ่งในปี1928เขาได้รับตำแหน่งเป็นศาสตราจารย์ในด้านแบคทีเรียวิทยาที่มหาวิทยาลัยลอนดอน จากนั้น ในปี1951 เขาได้รับเลือกให้เป็นอธิการบดีแห่งมหาวิทยาลัยเอดินบะระ
*[http://www.time.com/time/magazine/article/0,9171,990612,00.html ''Time'', March 29, 1999, Bacteriologist ALEXANDER FLEMING]
*[http://himetop.wikidot.com/alexander-fleming สถานที่และบันทึกความจำที่เกี่ยวข้องกับอเล็กซานเดอร์ เฟลมมิง]
* [http://nobelmedicine.co.uk/alexanderfleming.htm อเล็กซานเดอร์ เฟลมมิง]
 
==ผลงานการศึกษาวิจัย==
{{รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์}}
===ก่อนการค้นพบเพนิซิลิน===
[[หมวดหมู่:นักวิทยาศาสตร์]]
ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 เฟลมมิงเห็นทหารจำนวนมากเสียชีวิตจากภาวะพิษเหตุติดเชื้อ เฟลมมิงพยายามช่วยรักษาแผลโดยใช้ยาฆ่าเชื้อโรค แต่ยาฆ่าเชื้อโรคกลับทำให้แผลบาดเจ็บเหล่านั้นมีสภาพแย่ลง ในบทความที่เขาได้ส่งไปยังวารสารทางการแพทย์ แลนด์เซทในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 เฟลมมิงได้กล่าวถึงการทดลองอันชาญฉลาดซึ่งสามารถอธิบายเหตุผลที่ยาฆ่าเชื้อเหล่านั้นใช้ไม่ได้ผลและทำให้แผลเหล่านั้นมีอาการแย่ลง เขาอธิบายว่ายาฆ่าเชื้อใช้ได้ผลดีเฉพาะระดับผิวหนัง แต่สำหรับแผลลึกยาฆ่าเชื้อจะเข้าไปทำลายแบคทีเรียที่มีประโยชน์ เซอร์ อาร์มร็อท ไรท์ ได้สนับสนุนการค้นพบครั้งนี้เป็นอย่างมาก แต่แพทย์ทหารก็ยังคงใช้ยาฆ่าเชื้อตัวเดิมในการรักษาแม้ว่าจะทำให้บาดแผลแย่ลงก็ตาม เมื่อกลับมาที่โรงพยาบาลเซนต์แมรี่ ได้กลับมาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับสารต้านแบคทีเรีย และได้ค้นพบไลโซไซม์ ซึ่งเป็นสารยับยั้งการเติบโตของแบคทีเรียในสารคัดหลั่งจากจมูก
[[หมวดหมู่:ภาคีสมาชิกราชสมาคมแห่งลอนดอน]]
 
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์]]
===การค้นพบเพนิซิลิน===
{{birth|1881}}{{death|1955}}
ในปี 1927 เฟลมมิงได้ทำการศึกษาคุณสมบัติของ Staphylococcus ในขณะนั้นเขาได้รับการยอมรับว่าเป็นนักวิจัยที่ชาญฉลาด แต่ห้องแล็ปของเค้ามีสภาพที่ไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย ในวันที่ 3 กันยายน 1928 เฟลมมิงกลับมายังห้องแล็ปของเขาหลังจากลาพักร้อนกับครอบครัวในเดือนสิงหาคม ก่อนนั้นเขาได้วางถาดเพาะเลี้ยงเชื้อไว้บนม้านั่งที่มุมห้อง เมื่อกลับมาเขาได้พบว่ามีถาดเพาะเชื้ออันหนึ่งเกิดการปนเปื้อนด้วยเชื้อรา และในบริเวณที่เชื้อราเกิดขึ้นนั้นแบคทีเรียถูกทำลายไป เขาได้นำถาดเพาะเชื้อชิ้นนั้นไปเพาะเลี้ยงต่อ แล้วพบว่าเชื้อรานั้นได้ฆ่าแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรคหลายชนิด ในวันที่ 7 มีนาคม 1929 เขาได้ตั้งชื่อสารนั้นว่าเพนนิซิลิน
{{โครงชีวประวัติ}}
 
==รางวัลและเกียรติยศ==
การค้นพบโดยบังเอิญของเฟลมมิงและการสกัดสารเพนนิซิลินในเดือนกันยายน 1928 เป็นจุดเปลี่ยนของการแพทย์สมัยใหม่ เป็นยุคของการใช้ยาปฏิชีวนะ ซึ่งตัวยาเพนนิซิลินได้ถูกใช้รักษาชีวิตคนจำนวนหลายล้านคนจนถึงปัจจุบัน
จากการค้นพบดังกล่าว ทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลในสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ในปี 1945 นอกจากนี้ยังได้รับการยกย่องจากสถาบันต่างๆ เช่น มหาวิทยาลัยลอนดอน สถาบันรอยัล พอลีเทคนิค(ปัจจุบันคือ มหาวิทยาลัยเวสมินสเตอร์) และได้รับการแต่งตั้งเป็นอัศวินจากพระเจ้าจอร์จที่ 6