ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คลอริเนเตท พาราฟิน แวกซ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ooffylove (คุย | ส่วนร่วม)
Ooffylove (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''คลอริเนเตท พาราฟิน แว๊ก''' (Chlorinate Paraffin Wax, CPW)เป็นพลาสติกไชต์เซอร์ ตัวหนึ่งใช้เป็นส่วนผสมในการผลิต โพลิไวนิลคลอไรด์คอมเปาด์หรือพีวีซีคอมเปาด์(Polyvinyl Chloride Compound, PVC Compound) เนื่องจากพีวีซีปกติ หรือ พีวีซีเรซิน จะไม่มีคุณสมบัติการเป็นพลาสติก กระบวนการทำพีวีซีคอมเปาด์คือการนำเอาพีวีซีเรซิน มาผสมกับส่วนผสมต่างๆ เราเรียกว่า Additive ให้มีคุณสมบัติเป็นพลาสติกมากขึ้น
CPW จะทำหน้าที่เป็นตัวประสานทำให้ PVC มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอานุภาคมากขึ้น
CPW มีสถานะเป็นของเหลวที่อุภูมิปกติผลิตจากปฏิกิริยา คลอริเนชั่น(Chlorination)ของ Cl กับ <math>CnH2n+2</math> โดย ค่า n จะอยู่ระหว่าง 9-22 แล้วแต่ว่าต้องการคุณสมบัติแบบใด หากค่า n มากจะทำให้ปริมาณคลอรีนลดลง ความถ่วงจำเพาะจะลดลง และจะระเหยได้ง่าย
 
 
{| class="wikitable"
|-
! CAS Number
! สูตรทางเคมี
! 63449-39-8
! <math>CnH2n+1Cl</math>
 
|-
บรรทัด 14:
 
|-
| ชื่อไทยในพิกัดอัตตราภาษีศุลกากร
| แถว 2, คอลัมน์ 1
| ไขพาราฟิน
| แถว 2, คอลัมน์ 2
 
|}
 
สำหรับในประเทศไทย CPW บอกจากนำมาใช้เป็นพลาสติกไซเซอร์ในการผลิต พีวีซีคอมเปาด์แล้ว ยังนำมาใช้ในการผลิต สีทาบ้านและเคลือบกระดาษ อีกด้วย