ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษามอญ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
|familycolor=Austro-Asiatic
|fam2=[[กลุ่มภาษามอญ]]
Ok
 
|script=[[อักษรมอญ]] แต่สามารถใช้[[อักษรพม่า]]แทนได้
|nation=ไม่มี เป็นภาษาชนกลุ่มน้อย ที่ยอมรับใน[[ประเทศพม่า|พม่า]]และ[[ประเทศไทย|ไทย]]
เส้น 16 ⟶ 14:
}}
 
'''ภาษามอญ''' ({{mnw|ဘာသာမောန်}} {{IPA|[phɛ̀a.sa.mòn]}} ''เพียซาโหม่น'') เป็นภาษาใน[[ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก]] [[ภาษากลุ่มมอญ-เขมร|กลุ่มภาษามอญ-เขมร]] ซึ่งเป็นสายหนึ่งในตระกูลภาษามอญ-เขมร 12 สาย พูดโดย[[ชาวมอญ]] ที่อาศัยอยู่ใน[[พม่า]] และ[[ไทย]] ภาษาตระกูลมอญ-เขมรมีการใช้มานานประมาณ 3,000-4,000 ปีมาแล้ว มีผู้ใช้ภาษานี้อยู่ประาณประมาณ 5,000,000 คน อักษรมอญ ที่เก่าแก่ที่สุดนั้น ค้นพบในประเทศไทย หลักฐานที่พบคือ จารึก[[วัดโพธิ์ร้าง]] [[พ.ศ. 1143]] เป็นอักษรมอญโบราณที่เก่าแก่ที่สุด ในบรรดาจารึกภาษามอญที่ได้ค้นพบ ในแถบเอเซียอาคเนย์ เป็นจารึกที่เขียนด้วยตัว[[อักษรปัลลวะ]] ที่ยังไม่ได้ดัดแปลงให้เป็น [[อักษรมอญ]] และได้พบอักษรที่มอญประดิษฐ์เพิ่มขึ้น เพื่อให้พอกับเสียงในภาษามอญ<ref>http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=271</ref> ในจารึกเสาแปดเหลี่ยมที่ศาลสูง เมือง[[ลพบุรี]] ข้อความที่จารึกเกี่ยวกับ[[พระพุทธศาสนา]] สันนิษฐานว่า จารึกในพุทธศตวรรษที่ 13 ราว พ.ศ. 1314 อักษรจารึกในศิลาหลักนี้ เรียกว่า ตัวอักษรหลังปัลลวะ<ref>http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=921</ref>
 
ภาษามอญ ในจารึกสมัยกลางเป็นทั้งภาษามอญและอักษรมอญ ประมาณ พ.ศ. 1600 เป็นต้นมา พม่ารับอักษรมอญมาใช้เขียน[[ภาษาพม่า]]เป็นครั้งแรก ประมาณพุทธศตวรรษที่ 16-17 ตัวอักษรได้คลี่คลายจากตัวอักษรปัลลวะ มาเป็นตัวอักษรสีเหลี่ยม คือ ตัวอักษรที่เรียกว่า อักษรมอญโบราณ และเปลี่ยนแปลงขนาดเล็กลงในระยะต่อมา ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 21 ก็ได้กลายเป็นอักษรมอญปัจจุบัน ซึ่งมีลักษณะกลม เกิดจากอิทธิพลของการจารหนังสือโดยใช้เหล็กจารลงบน[[ใบลาน]]