ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาไชยสงคราม (ทิพย์ช้าง)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เจ้าพ่อ
ย้อนการแก้ไขที่ 7130941 สร้างโดย 27.145.28.200 (พูดคุย)
บรรทัด 19:
|รัชกาลถัดมา = [[เจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว]]
|}}
'''พระยาไชยสงคราม'''<ref>[[สรัสวดี อ๋องสกุล]]. (2554). '''ประวัติศาสตร์ล้านนา'''. สำนักพิมพ์อมรินทร์.</ref> หรือ'''พระยาสุลวะลือไชยสงคราม''' หรือ เจ้าพ่อ'''พ่อเจ้าทิพย์ช้าง''' ([[ไฟล์:LN-King Thipchang2.png|80px]]) เป็น[[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครลำปาง|เจ้าผู้ครองนครลำปาง]] และต้น "[[ราชวงศ์ทิพย์จักร]]" ปกครองนครลำปางในช่วง พ.ศ. 2275 - 2302 (จ.ศ. 1120) และต้น[[ราชวงศ์ทิพย์จักร]]
 
'''พระยาไชยสงคราม'''<ref>[[สรัสวดี อ๋องสกุล]]. (2554). '''ประวัติศาสตร์ล้านนา'''. สำนักพิมพ์อมรินทร์.</ref> หรือ'''พระยาสุลวะลือไชยสงคราม''' หรือ เจ้าพ่อ'''ทิพย์ช้าง''' ([[ไฟล์:LN-King Thipchang2.png|80px]]) เป็น[[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครลำปาง|เจ้าผู้ครองนครลำปาง]] และต้น "[[ราชวงศ์ทิพย์จักร]]" ปกครองนครลำปางในช่วง พ.ศ. 2275-2302 (จ.ศ.1120)
 
== พระประวัติ ==
พระยาสุลวะลือไชยสงคราม เดิมเป็นสามัญชนชาวบ้านปงยางคก (ปัจจุบันคือ ตำบลปงยางคก [[อำเภอห้างฉัตร]]) มีนามเดิมว่า "ทิพย์จักรช้าง" เกิดในราวปี พ.ศ. 2217 ได้บวชเรียนที่วัดปงยางคก และสึกออกมาประกอบอาชีพพรานป่า มีความเชี่ยวชาญการใช้อาวุธ และมีความสามารถในการขับไล่และตัดหางช้างที่มารบกวนพืชผลของชาวบ้านได้ ชาวบ้านจึงขนานนามว่า "หนานทิพย์ช้าง"<ref name="อนุสรณ์">สภาวัฒนธรรมจังหวัดลำปาง, '''อนุสรณ์สถานพ่อเจ้าทิพย์ช้าง''', ลำปาง : สภาวัฒนธรรมจังหวัดลำปาง, 2554</ref> หนานทิพย์ช้าง มีภรรยาคนหนึ่งชื่อ "นางปิมปา" ชาวบ้านหนาดคำ แคว้นบ้านเอื้อม (ปัจจุบันคือ ตำบลบ้านเอื้อม [[อำเภอเมืองลำปาง]])
 
ในช่วงปลายของกรุงศรีอยุธยา [[นครเชียงใหม่]]และ[[อาณาจักรล้านนา]]เป็นเมืองขึ้นของพม่า ส่วนลำปางเป็นนครรัฐอิสระ กระทั่งท้าวหนานมหายศ เจ้าเมืองลำพูนยกทัพมาตีชนะเมืองลำปาง และตั้งศูนย์บัญชาการที่วัดพระธาตุลำปางหลวง เหล่าบรรดาประชาชนจึงได้ขอให้หนานทิพย์ช้าง นายพรานผู้เก่งกล้าและเชี่ยวชาญอาวุธปืนยาวและหน้าไม้ เป็นผู้นำในการกอบกู้นครลำปาง โดยสามารถรบชนะและสังหารท้าวมหายศได้ที่วัดพระธาตุลำปางหลวง ชาวเมืองจึงร่วมกันสถาปนาหนานทิพย์ช้าง ขึ้นครองนครลำปาง ในปี [[พ.ศ. 2275]]<ref>วรเทวี (ณ ลำพูน) ชลวณิช. '''เจ้าหลวงลำพูน''' กรุงเทพฯ : อัมรันทร์พริ้นติ้ง. 2552</ref> มีพระนามว่า '''พระญาสุลวะลือไชย'''
 
ต่อมาพระองค์ได้ส่งเครื่องราชบรรณาการไปถวายพระเจ้ากรุงอังวะ และได้รับการเฉลิมพระนามจากพระเจ้ากรุงอังวะเป็น'''พระยาไชยสงคราม''' ในปี พ.ศ. 2278<ref>คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์, '''ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่''', พระนคร : โรงพิมพ์สำนักนายกรัฐมนตรี, 2514, หน้า 88</ref> บางตำราจึงมักออกพระนามรวมกันเป็น'''พระยาสุลวะลือไชยสงคราม''' พระองค์ปกครองนครลำปางได้ 27 ปี จึงถึงแก่พิราลัยในปี พ.ศ. 2302
เส้น 33 ⟶ 32:
พระยาสุลวะลือไชยสงคราม มีพระราชโอรสและะพระราชธิดา รวม 6 พระองค์ ตามรายพระนามดังนี้
* เจ้าชายอ้าย
* [[เจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว]] เจ้าฟ้าเมืองลำปาง ในฐานะประเทศราชของพม่า (2302 - 2317) เป็นพระเจ้าราชบิดาใน[[เจ้าเจ็ดตน]]
* เจ้าหญิงคำทิพ
* เจ้าหญิงคำปา
* เจ้าชายพ่อเรือน พระเจ้าราชบิดาใน[[เจ้าหลวงพระยาพุทธวงศ์]] เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 4 เจ้าบุรีรัตน์ (น้อยกาวิละ) และเจ้าราชวงศ์ (คำมูล)
* เจ้าหญิงกม (กมลา)
 
== อนุสาวรีย์ ==
=== อนุสาวรีย์ ณ ตำบลพระบาท ===
อนุสาวรีย์พระยาสุลวลือไชยสงคราม ตั้งอยู่ที่ริมถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ลำปาง-งาว ตำบลพระบาท [[อำเภอเมืองลำปาง]] [[จังหวัดลำปาง]] โดยความดูแลของ[[เทศบาลนครลำปาง]] ก่อสร้างขึ้นเพื่อเทิดพระเกียรติคุณของเจ้าหนานทิพย์ช้าง หรือพระยาสุลวะลือไชยสงคราม ในปี พ.ศ. 2527 โดย[[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน)]] เสด็จทรงประกอบพิธีเททองเมื่อวันที่ [[9 เมษายน]] [[พ.ศ. 2527]] <ref>[http://www.m-culture.in.th/moc_new/album/131305/อนุสาวรีย์พ่อเจ้าทิพย์ช้าง/ อนุสาวรีย์พ่อเจ้าทิพย์ช้าง] จาก ศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม</ref>
 
โดยจะมีการจัดพิธีบวงสรวงในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ของทุกปี
เส้น 73 ⟶ 72:
 
{{เรียงลำดับ|ชยสงคราม}}
{{เกิดปีอายุขัย|2217|2302}}
{{ตายปี|2302}}
[[หมวดหมู่:เจ้าผู้ครองนครลำปาง]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์ทิพย์จักร| ]]