ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โคลงโลกนิติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 1:
{{ตารางวรรณคดี
|กวี = [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดิศร|สมเด็จฯ กรมพระยาเดชาดิศร]] (จารึกวัดโพธิ์)
|ประเภท = [[โคลงสุภาษิต]]
|คำประพันธ์ = [[โคลงสี่สุภาพ]]
|ความยาว = 408 บท (สมุดไทย) <br> 435 บท (จารึกวัดโพธิ์ฯ) <br> 911 บท (ฉบับหอสมุดแห่งชาติ) <br> 902 บท (ฉบับกรมวิชาการ)
|สมัย = [[รัตนโกสินทร์]]|[[ต้นรัตนโกสินทร์]]
|ปี = [[พ.ศ. 2374|พ.ศ. 2374]]
|ชื่ออื่น = ประชุมโคลงโลกนิติ
|ลิขสิทธิ์ = -
|
}}
'''โคลงโลกนิติ''' เป็น[[วรรณกรรม]]ประเภทคำสอน ในลักษณะของ[[โคลงสุภาษิต]] คำว่า ''โลกนิติ'' (อ่านว่า โลก-กะ-นิด) แปลว่า ''ระเบียบแบบแผนแห่งโลก''
 
เนื้อหาในโคลงโลกนิติจึงมุ่งแสดงความจริงของโลกและสัจธรรมของชีวิต เพื่อให้ผู้อ่านได้รู้เท่าทันต่อโลก และเข้าใจในความเป็นไปของชีวิต พร้อมเป็นแม่แบบเพื่อให้ผู้อ่านได้ดำเนินชีวิตไปในทางที่ถูกต้องดีงามสืบไป
 
โคลงโลกนิติมีความไพเราะเหมาะสมทั้งด้านรูปแบบและเนื้อหาปรัชญาสาระ ครบคุณค่าทางวรรณกรรม ทำให้เป็นที่แพร่หลายในหมู่คนทั่วไป บางท่านกล่าวยกย่องโคลงโลกนิติว่าเป็น ''อมตะวรรณกรรมคำสอน'' หรือ ''ยอดสุภาษิตอมตะ''<ref>''สุปาณี พัดทอง, "โคลงโลกนิติ" อมตะวรรณกรรมคำสอน''</ref>, ได้รับคัดเลือกจาก[[กระทรวงศึกษาธิการ]]ให้เป็นบทอ่านใน[[หนังสือแบบเรียน]]สำหรับนักเรียนนักศึกษาอยู่ทุกยุคสมัย และได้รับการจัดให้เป็นหนึ่งใน[[หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน|หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน]]
 
==ประวัติ==
* '''สำนวนเก่า'''