ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยูกลีนา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 5:
| caption =
| domain = [[Eukaryote]]
| regnum = [[ExcavataProtista]]
| superphylum = [[Discoba]]
| phylum = [[Euglenozoa]]
บรรทัด 18:
 
ตัวของยูกลีนาเป็นสีเขียว เนื่องจากมี[[คลอโรพลาสต์]]รูป Large plated chloroplasts with the so-called double sheeted pyrenoid, that is, a pyrenoid
which carries on both plastid surfaces a watch glass shaped cup of paramylon อยู่ในไซโตพลาสซึม จัดเป็น mixotroph เพราะ เมื่ออยู่ในสภาพที่มีแสงจะดำรงชีวิตแบบ autophototroph อาหารสะสมเป็น[[พาราไมลอน]]กระจายในเซลล์ ถ้าอยู่ในสภาพที่ไม่มีแสงจะดำรงชีวิตแบบ heterotroph แบบ holozoic nutrition หรือ phagocytosis โดยคลอโรฟิลล์จะสลายไป เรียก bleached euglena หรือ mutant euglena ซึ่งอาจเกิดขึ้นเองหรือเกิดจากการชักนำ (induction) เช่น ความมืด,ยา, UV light,ความร้อน เป็นต้น พวกนี้จะแค่ protoplastid ที่ยังไม่กลายเป็น mature chloroplast แต่ถ้ากลับมาอยู่ในสภาพที่มีแสงใหม่ 4 ชั่วโมงพบยูกลีนาจะสร้างคลอโรฟิลล์ขึ้นมาใหม่โดย protoplastid มีลักษณะรูปร่างยาวขึ้นและ เริ่มเป็นชั้นของ lamellae เกิดขึ้น (lamination of chloroplast) หลังจากนั้น 72 ชั่วโมงพบว่าเหมือนกับ euglena ปรกติที่สามารถสังเคราะห์แสงได้ เรียก ปรากฏการนนี้ว่า light-dark adaptation
 
== การสืบพันธุ์ ==
การสืบพันธุ์ของยูกลีนาเป็นแบบไม่อาศัยเพศ โดยการแบ่งเซลล์ตามยาวจากด้านหน้าไปยังด้านท้าย ในสภาพอากาศที่ไม่เหมาะสมยูกลีนาจะแบ่งตัวในซีสต์ โดยเซลล์หดตัวเป็นรูปกลมหุ้มด้วย[[เยื่อเจลลาติน]] (Gelationous covering) เป็นการเข้าเกราะ จากนั้นยูกลีนาจึงเริ่มแบ่งตัว ซึ่งจะได้ยูกลีนามากกว่า 1 ตัวใน 1 [[ซีสต์]]