ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2494"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19:
เหตุเนื่องจาก [[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] นายกรัฐมนตรี อ้างว่าไม่ได้รับความสะดวกในการบริหารราชการแผ่นดิน เหตุสืบเนื่องจาก[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492|รัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2492]] อันเป็น[[รัฐธรรมนูญ]]ที่ใช้อยู่ขณะนั้น ไม่เอื้อให้เกิดอำนาจ คือให้ผู้ที่เป็น สมาชิกวุฒิสภาจะเป็นข้าราชการประจำไม่ได้
 
การยึดอำนาจกระทำโดยไม่ใช้การเคลื่อนกำลังใด ๆ เพียงแต่มีความเคลื่อนไหวโดยมี[[ตำรวจ]]และ[[ทหาร]] รวมทั้ง[[รถถัง]]เฝ้าประจำการในจุดยุทธศาสตร์ต่าง ๆ ในพื้นที่[[กรุงเทพมหานคร]] มาตั้งแต่วันที่ 27 พฤศจิกายน จนกระทั่งในเวลา[[สนธยา|หัวค่ำ]]ของวันที่ 29 พฤศจิกายน ก็ได้มีการประกาศผ่าน[[สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย]] ว่าบัดนี้ บัดนี้คณะนายทหารส่วนใหญ่จาก[[รัฐประหารในบริหารประเทศไทย พ.ศ. 2490|คณะรัฐประหาร พ.ศ. 2490]] อาทิชั่วคราว ประกอบด้วย [[หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล)]] [[หลวงชำนาญอรรถยุทธ์ (เอื้อน กุลไกรเวส)]] พลเรือตรี [[สุนทร สุนทรนาวิน]] พลอากาศเอก [[ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี]] พลอากาศโท [[หลวงเชิด วุฒากาศ]] พลอากาศโท [[หลวงปรุง ปรีชากาศ]] <ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2494/D/071/9.PDF</ref> ได้กระทำการยึดอำนาจเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เพื่อผดุงไว้ซึ่งความมั่นคงของประเทศชาติ จากภัย[[คอมมิวนิสต์]]ที่กำลังคุกคามอย่างรุนแรง โดยเรียกตัวเองว่า "คณะบริหารประเทศชั่วคราว" และได้ความร่วมมือจากทั้ง 3 กองทัพ และตำรวจ โดยแต่งตั้ง นายพลตำรวจโท [[เผ่า ศรียานนท์]]<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2494/D/071/9.PDF</ref>เป็นผู้รักษาความสงบภายในทั่วราชอาณาจักร และแต่งตั้งกรรมการเจ้าหน้าที่ควบคุมและตรวจข่าวโฆษณาทางหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์ จำนวน 15 ราย<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2494/D/071/12.PDF</ref>ในวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 ซึ่งมีคำปรารภในการรัฐประหารครั้งนี้ว่า