ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุคมืดของกัมพูชา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Winai999 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
{{มุมมองสากล}}
{{History of Cambodia}}
ยุคมืดของ[[กัมพูชา]] เริ่มขึ้นหลังจาก[[อาณาจักรขอมเขมร]]เริ่มอ่อนแอลง [[ประเทศ]]ราชประกาศตัวเป็นอิสระ เกิดความวุ่นวายในราชอาณาจักร จนในที่สุดการล่มสลายของอาณาจักรขอมเขมร
 
== ยุคเสื่อมของอาณาจักรขอมเขมร ==
[[จักรวรรดิขแมร์|อาณาจักรเขมร]] ในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 8 (พ.ศ. 1786-1838) ความไม่มั่นคงภายในอาณาจักรเริ่มเกิดขึ้น ประเทศราชเกิดการแข็งข้อ พ่อขุนผาเมืองเจ้าเมืองราดร่วมมือกับ[[พ่อขุนบางกลางหาว]] แข็งเมืองไม่ขึ้นกับพระนคร และต่อมาได้ก่อตั้ง[[อาณาจักรสุโขทัย]]ขึ้น ในช่วงนี้มีการเปลี่ยนศาสนาจาก[[ศาสนาพุทธนิกายมหายาน]]มานับถือ[[พระศิวะ]]เหมือนเดิม และได้ทำลายภาพจำหลักหินที่เป็นรูป[[พระพุทธเจ้า]] ทำลายภาพสลักหินที่เกี่ยวกับพุทธประวัติออกไปจากปราสาทหลายแห่ง อาทิ [[ปราสาทตาพรหม]] หลังจากสิ้นรัชสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่ 8 อาณาจักรเขมรเสื่อมอำนาจลงอย่างมาก
[[จักรวรรดิขแมร์|อาณาจักรขอม]] ในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 8 (พ.ศ. 1786-1838) ความไม่มั่นคงภายในอาณาจักรเริ่มเกิดขึ้น ประเทศราชเกิดการแข็งข้อ พ่อขุนผาเมืองเจ้าเมืองราดร่วมมือกับ[[พ่อขุนบางกลางหาว]] แข็งเมืองไม่ขึ้นกับพระนคร และต่อมาได้ก่อตั้ง[[อาณาจักรสุโขทัย]]ขึ้น ในช่วงนี้มีการเปลี่ยนศาสนาจาก[[ศาสนาพุทธนิกายมหายาน]]มานับถือ[[พระศิวะ]]เหมือนเดิม และได้ทำลายภาพจำหลักหินที่เป็นรูป[[พระพุทธเจ้า]] ทำลายภาพสลักหินที่เกี่ยวกับพุทธประวัติออกไปจากปราสาทหลายๆแห่ง อาทิ [[ปราสาทตาพรหม]] หลังจากสิ้นรัชสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่ 8 อาณาจักรขอมเสื่อมอำนาจลงอย่างมาก ราชวงศ์ต่างๆเริ่มเกิดการแย่งชิงราชสมบัติกัน ในช่วงนี้ไม่มีสิ่งปลูกสร้างใดๆเกิดขึ้น หัวเมืองต่างๆเริ่มกบฏแข็งข้อและแยกตัวออกไปเป็นทิวแถว รวมไปถึงการขึ้นเป็นใหญ่ของ"[[อาณาจักรสุโขทัย]]"
 
== การล่มสลายของอาณาจักรขอมเขมร ==
พ.ศ. 1896 ในสมัย[[พระเจ้าอู่ทอง]]แห่ง[[กรุงศรีอยุธยา]] อาณาจักรขอมเขมรก็ถูกกองทัพกรุงศรีอยุธยานำโดยขุนหลวงพระงั่วซึ่งเป็นพี่เมียของ[[พระเจ้าอู่ทอง]]ยกทัพโจมตียึดเป็นเมืองขึ้น กองทัพไทยจากพระนครศรีอยุธยาไปรวมกำลังที่นคร[[โคราฆปุระ|โคราปุระ]]หรือโคราชหรือ[[นครราชสีมา]] แล้วแยกกองทัพลงไปโจมตีกัมพูชาเป็น 3 ทางมีทหารไทย มอญ ลาวรวมกันประมาณ 50,000 คนและสามารถทำให้อาณาจักรขอมแตกได้ อาณาจักรขอมเขมรจึงกลายเป็นเมืองขึ้นของอยุธยา เป็นผลให้อาณาจักรขอมเขมรล่มสลายอย่างสิ้นเชิง จนไม่สามารถฟื้นฟูอาณาจักรให้กลับมายิ่งใหญ่ตามเดิมได้
พ.ศ. 1896 [[พระเจ้าอู่ทอง]]แห่ง[[กรุงศรีอยุธยา]] อาณาจักรขอมก็ถูกกองทัพกรุงศรีอยุธยานำโดยขุนหลวงพระงั่วซึ่งเป็นพี่เมียของ[[พระเจ้าอู่ทอง]]ยกทัพโจมตียึดเป็นเมืองขึ้น กองทัพไทยจากพระนครศรีอยุธยาไปรวมกำลังที่นคร[[โคราฆปุระ|โคราปุระ]]หรือโคราชหรือ[[นครราชสีมา]]แล้วแยกกองทัพลงไปโจมตีกัมพูชาเป็น 3 ทางมีทหารไทย มอญ ลาวรวมกันประมาณ 50,000 คนและสามารถทำให้อาณาจักรขอมแตกได้ อาณาจักรขอมจึงกลายเป็นเมืองขึ้นของอยุธยา เป็นผลให้อาณาจักรขอมล่มสลายอย่างสิ้นเชิง จนไม่สามารถฟื้นฟูอาณาจักรให้กลับมายิ่งใหญ่ตามเดิมได้
 
== ยุคมืดของกัมพูชา==
หลังจากนั้นมาเขมรก็กลายเป็นประเทศราชของ[[สยาม]]ประเทศ ต่อมาในปี พ.ศ. 1936 อาณาจักรขอมเขมรแข็งเมืองจน[[สมเด็จพระราเมศวร]] [[กษัตริย์]]แห่งกรุงศรีอยุธยาส่งกองทัพไปยึดเมืองพระนครหลวงเมืองหลวงของเขมรได้อีกครั้ง ประมาณว่ากองทัพไทยยกทัพไป 2 ทางมีทหารรวมกันระหว่าง 40,000 – 50,000 คน ในขณะที่กองทัพขอมเขมรมีทหารระดมมาจากทั่วแคว้นประมาณ 100,000 คนต้านกลยุทธและยุทธวิธีการรบของ[[กองทัพไทย]]ไม่ได้ต้องยอมแพ้ ต่อมาในปีพ.ศ. 1974 อาณาจักรขอมเขมรเกิดแข็งเมืองไม่ยอมส่งเครื่องบรรณาธิการมายังกรุงศรีอยุธยา [[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2]] [[พระเจ้าสามพระยา]]โอรสของ[[สมเด็จพระเจ้านครอินทร์]]หรือ[[พระเจ้านครินทราธิราชสมเด็จพระอินทราชา]]ยกทัพหลวงจากกรุงศรีอยุธยา คาดกันว่ามีกำลังพลประมาณ 60,000 คนไปตีเมืองพระนครหลวงของขอม เขมร ยุทธวิธีรบของทหารไทยจากพระนครศรีอยุธยาจัดกำลังออกเป็น 2 กองทัพแรกคือกองทัพบกมีกำลัง 50,000 คนเข้าตีขอมเขมรตรงด้านหน้ามีทั้งทหารช้าง ทหารม้า ทหารราบหรือพลเดินเท้า เครื่องทำลายกำแพงและทหารธนู กองทัพเรือมีกำลัง 10,000 คนล่องเรือไปทาง[[แม่น้ำโขง]]เป็นเรือพายขนาดใหญ่จู่โจมทางด้านหลัง ฝ่ายอาณาจักรขอมเขมรนั้นได้เกณฑ์ทหารตั้งรับจากทั่วอาณาจักรมีกำลังมากกว่าทหาร[[ไทย]] ประมาณกันว่ามีจำนวนระหว่าง 70,000 – 75,000 คน ประกอบด้วยพลเดินเท้าใช้[[ดาบ]]ยาว 2 มือและดาบยาวกับโล่หรือดั้งป้องกันตัว ทหารธนูมีกำลังพล 1 ใน 5 ของทหารทั้งหมด กองทหารม้ามีหอกยาว ทวนและโตมรพร้อมกับดาบยาวที่เอว เมืองพระนครหลวงของเขมรถูกทำลายจนต้องย้ายเมืองหลวงจากเมืองพระนครไปตั้งที่[[อาณาจักรเขมรจตุรมุข|เมืองจตุรพักตร์]]ที่ตั้งของกรุง[[พนมเปญ]]ในปัจจุบัน และต่อมาย้ายไป[[อาณาจักรเขมรละแวก|เมืองละแวก]]ที่ใกล้ริม[[ทะเลสาบเขมร]] การที่กองทัพไทยตีเมืองพระนครแตกทำให้ขอมหรือเขมรสิ้นและย้ายไป[[อาณาจักร เขมรอยู่ในการปกครองของไทยเรื่อยมาตั้งแต่ อยุธยา [[กรุงธนบุรีศรีสุนทร|เมืองศรีสุนทร]] และเลยมาถึง[[กรุงรัตนโกสินทร์อาณาจักรเขมรอุดง|เมืองอุดงมีชัย]] ต่อมาเกิดสงคราม[[อานามสยามยุทธ]]ในสมัยรัชกาลที่3 ทำให้กัมพูชากลายเป็น[[รัฐในอารักขา|รัฐอารักขา]]ระหว่างสยามและญวณก่อนที่จะตกเป็นอาณานิคมของ[[ฝรั่งเศส]]ในเวลาต่อมาตามลำดับ
 
การที่กองทัพไทยตีเมืองพระนครแตกทำให้ขอมหรือเขมรสิ้นอาณาจักร เขมรอยู่ในการปกครองของไทยเรื่อยมาตั้งแต่สมัย อยุธยา [[กรุงธนบุรี]] ถึง[[กรุงรัตนโกสินทร์]] ต่อมาเกิดสงคราม[[อานามสยามยุทธ]]ในสมัยรัชกาลที่3 ทำให้กัมพูชากลายเป็น[[รัฐในอารักขา|รัฐอารักขา]]ระหว่างสยามและญวณก่อนที่จะตกเป็นอาณานิคมของ[[ฝรั่งเศส]]ในเวลาต่อมา
หลังจากนั้นมาเขมรก็กลายเป็นประเทศราชของ[[สยาม]]ประเทศ ต่อมาในปี พ.ศ. 1936 อาณาจักรขอมแข็งเมืองจน[[สมเด็จพระราเมศวร]] [[กษัตริย์]]แห่งกรุงศรีอยุธยาส่งกองทัพไปยึดเมืองพระนครหลวงของเขมรได้อีกครั้ง ประมาณว่ากองทัพไทยยกทัพไป 2 ทางมีทหารรวมกันระหว่าง 40,000 – 50,000 คน ในขณะที่กองทัพขอมมีทหารระดมมาจากทั่วแคว้นประมาณ 100,000 คนต้านกลยุทธและยุทธวิธีการรบของ[[กองทัพไทย]]ไม่ได้ต้องยอมแพ้ ต่อมาในปีพ.ศ. 1974 อาณาจักรขอมเกิดแข็งเมืองไม่ยอมส่งเครื่องบรรณาธิการมายังกรุงศรีอยุธยา [[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2]] [[พระเจ้าสามพระยา]]โอรสของ[[สมเด็จพระนครอินทร์]]หรือ[[พระเจ้านครินทราธิราช]]ยกทัพหลวงจากกรุงศรีอยุธยา คาดกันว่ามีกำลังพลประมาณ 60,000 คนไปตีเมืองพระนครหลวงของขอม ยุทธวิธีรบของทหารไทยจากพระนครศรีอยุธยาจัดกำลังออกเป็น 2 กองทัพแรกคือกองทัพบกมีกำลัง 50,000 คนเข้าตีขอมตรงด้านหน้ามีทั้งทหารช้าง ทหารม้า ทหารราบหรือพลเดินเท้า เครื่องทำลายกำแพงและทหารธนู กองทัพเรือมีกำลัง 10,000 คนล่องเรือไปทาง[[แม่น้ำโขง]]เป็นเรือพายขนาดใหญ่จู่โจมทางด้านหลัง ฝ่ายอาณาจักรขอมนั้นได้เกณฑ์ทหารตั้งรับจากทั่วอาณาจักรมีกำลังมากกว่าทหาร[[ไทย]] ประมาณกันว่ามีจำนวนระหว่าง 70,000 – 75,000 คน ประกอบด้วยพลเดินเท้าใช้[[ดาบ]]ยาว 2 มือและดาบยาวกับโล่หรือดั้งป้องกันตัว ทหารธนูมีกำลังพล 1 ใน 5 ของทหารทั้งหมด กองทหารม้ามีหอกยาว ทวนและโตมรพร้อมกับดาบยาวที่เอว เมืองพระนครหลวงของเขมรถูกทำลายจนต้องย้ายเมืองหลวงจากเมืองพระนครไปตั้งที่เมืองจตุรพักตร์ที่ตั้งของกรุง[[พนมเปญ]]ปัจจุบันและต่อมาย้ายไป[[เมืองละแวก]]ที่ริม[[ทะเลสาบเขมร]] การที่กองทัพไทยตีเมืองพระนครแตกทำให้ขอมหรือเขมรสิ้นอาณาจักร เขมรอยู่ในการปกครองของไทยเรื่อยมาตั้งแต่ อยุธยา [[กรุงธนบุรี]] และเลยมาถึง[[กรุงรัตนโกสินทร์]] ต่อมาเกิดสงคราม[[อานามสยามยุทธ]]ในสมัยรัชกาลที่3 ทำให้กัมพูชากลายเป็น[[รัฐในอารักขา|รัฐอารักขา]]ระหว่างสยามและญวณก่อนที่จะตกเป็นอาณานิคมของ[[ฝรั่งเศส]]ในเวลาต่อมา
 
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์กัมพูชา]]