ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลวงอัคนีนฤมิตร (จิตร จิตราคนี)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 64:
ในช่วงต้นรัชกาล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ห้องภาพฟรานซิศจิตรแอนด์ซัน เป็นร้านถ่ายรูปหลวงประจำราชสำนัก ได้รับพระราชทานตราตั้ง และลงโฆษณาในหนังสือพิมพ์บางกอกรีคอร์เดอร์ จดหมายเหตุสยามไสมย บางกอกไตมส์ และเดอะสยามเมอร์แคนไตล์กาเซท์ <ref name="sarakadee"/>
 
ด้านการรับราชการ นายจิตรเริ่มรับราชการเป็นมหาดเล็กหลวงอยู่เวรชิตภูบาลใน[[พระราชวังบวรสถานมงคล]]สมัย[[รัชกาลที่ 4]] ได้รับพระราชทานเบี้ยหวัดปีละ 5 ตำลึง ต่อมาเมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เสด็จสวรรคต จึงสมทบลงมารับราชการอยู่ใน[[พระบรมมหาราชวัง]]<ref name="ราชกิจจา" /> ใน[[ในรัชกาลที่ 5]] ได้รับโปรดเกล้าฯ พระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น ขุนสุนทรสาทิศลักษณ์ <ref>สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงบันทึกใน จดหมายเหตุแลนิราศลอนดอน ว่า "ขุนฉายาทิศลักษณ"</ref> ตำแหน่งช่างถ่ายรูปขึ้นกรมแสง รับพระราชทานเบี้ยหวัดปีละ 1 ชั่ง 5 ตำลึง และได้รับพระราชทานเลื่อนบรรดาศักดิ์และตำแหน่งเป็น หลวงอัคนีนฤมิตร เจ้ากรมหุงลมประทีป ในปี พ.ศ. 2423 รับพระราชทานเบี้ยหวัดปีละ 1 ชั่ง 10 ตำลึง<ref name="ราชกิจจา" />
 
หลวงอัคนีนฤมิตร ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ [[23 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2434]] ด้วย[[อหิวาตกโรค]] รวมอายุได้ 61 ปี<ref name="ราชกิจจา" /><ref name="เอนก"/> เป็นต้นสกุล "จิตราคนี" บุตรชายของหลวงอัคนีนฤมิตรคนหนึ่งชื่อนายทองดี ได้รับราชการเป็นช่างถ่ายรูปอยู่ในกรมพระแสงหอกดาบ มีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงฉายาสาทิศกร<ref>ราชกิจจานุเบกษา. [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2438/037/347.PDF ประวัติ [หม่อมเจ้าหญิงประไพ ในพระเจ้าบวรวงษเธอ กรมขุนธิเบศร์บวร, ขุนฉายาสาทิศกร (ทองดี) ช่างถ่ายรูป ในกรมพระแสงหอกดาบ.]] เล่ม ๑๒, ตอน ๓๗, วันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๓๘, หน้า ๓๔๗.</ref>