ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลวงอัคนีนฤมิตร (จิตร จิตราคนี)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 27:
'''หลวงอัคนีนฤมิตร (จิตร)''' หรือ '''นายจิตร''' หรือ '''ฟรานซิส. จิตร''' ([[พ.ศ. 2373]] - [[23 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2434]] <ref name="sarakadee">[http://www.sarakadee.com/feature/2002/03/francis.htm ฟรานซิส. จิตร ช่างภาพผู้ยิ่งใหญ่] เอนก นาวิกมูล, สารคดี ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒๐๔ เดือน กุมภาพันธ์ ๒๕๔๕ </ref>) เป็นช่างภาพอาชีพคนแรกชาวไทย เป็นผู้เปิดร้านถ่ายรูปขึ้นเป็นแห่งแรก ในสมัย[[รัชกาลที่ 4]] เมื่อ [[พ.ศ. 2406]] บริเวณเรือนแพหน้า[[วัดกุฎีจีน]] [[ฝั่งธนบุรี]] (ปัจจุบันคือ [[วัดซางตาครู้ส]]) ร่วมกับนายทองดี บุตรชาย ชื่อ ร้านฟรานซิศจิตรแอนด์ซัน <ref name="sarakadee"/>
 
นายจิตรเป็นบุตรของนายตึงซึ่งเป็นทหารแม่นปืนฝ่ายพระราชวังบวร<ref name="ราชกิจจา">ราชกิจจานุเบกษา. [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2434/009/72.PDF ข่าวตาย.] เล่ม ๘, ตอน ๙, วันที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๓๔, หน้า ๗๒.</ref> แต่ไม่ทราบชื่อมารดา<ref name="เอนก">เอนก นาวิกมูล. ภาพเก่าเล่าตำนาน:หลวงอัคนีนฤมิตร (จิตร จิตราคนี)ช่างถ่ายรูปอาชีพคนแรกของไทย. '''ศิลปวัฒนธรรม'''. ปีที่ 17 เล่ม 5 มีนาคม 2539. หน้า 128 </ref> นายจิตรเรียนรู้วิชาการถ่ายรูปจาก [[บาทหลวงหลุยส์ ลาร์นอดี]] (L' abbe Larnaudie) <ref>{{อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง=[[เอนก นาวิกมูล]]
|ชื่อหนังสือ=ลิ้นชักภาพเก่า ประมวลภาพ จากคอลัมน์เปิดกรุภาพเก่าในนิตยสารแพรวรายปักษ์ และคอลัมน์ลิ้นชักภาพเก่าในวิทยาจารย์
บรรทัด 64:
ในช่วงต้นรัชกาล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ห้องภาพฟรานซิศจิตรแอนด์ซัน เป็นร้านถ่ายรูปหลวงประจำราชสำนัก ได้รับพระราชทานตราตั้ง และลงโฆษณาในหนังสือพิมพ์บางกอกรีคอร์เดอร์ จดหมายเหตุสยามไสมย บางกอกไตมส์ และเดอะสยามเมอร์แคนไตล์กาเซท์ <ref name="sarakadee"/>
 
ด้านการรับราชการ นายจิตรเริ่มรับราชการเป็นมหาดเล็กหลวงอยู่เวรชิตภูบาลในพระบวรราชวัง สมัยรัชกาลที่ 4 ได้รับพระราชทานเบี้ยหวัดปีละ 5 ตำลึง ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต จึงลงทบลงมารับราชการอยู่ในพระบรมมหาราชวัง<ref name="ราชกิจจา" /> ในรัชกาลที่ 5 ได้รับโปรดเกล้าฯ พระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น ขุนสุนทรสาทิศลักษณ์ ในรัชกาลที่ 5 <ref>สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงบันทึกใน จดหมายเหตุแลนิราศลอนดอน ว่า "ขุนฉายาทิศลักษณ"</ref> ตำแหน่งช่างถ่ายรูป ขึ้นกับกรมแสง รับพระราชทานเบี้ยหวัดปีละ 1 ชั่ง 5 ตำลึง และได้รับพระราชทานเลื่อนบรรดาศักดิ์และตำแหน่งเป็น หลวงอัคนีนฤมิตร เจ้ากรมหุงลมประทีป ในปี พ.ศ. 2423 รับพระราชทานเบี้ยหวัดปีละ 1 ชั่ง 10 ตำลึง<ref name="ราชกิจจา" />
 
หลวงอัคนีนฤมิตร ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ [[23 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2434]] ด้วยโรคอหิวาต์[[อหิวาตกโรค]] รวมอายุได้ 61 ปี<ref name="ราชกิจจา" /><ref name="เอนก"/> รวมอายุได้ 61 ปี เป็นต้นสกุล "จิตราคนี" บุตรชายของหลวงอัคนีนฤมิตรคนหนึ่งชื่อนายทองดี ได้รับราชการเป็นช่างถ่ายรูปอยู่ในกรมพระแสงหอกดาบ มีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงฉายาสาทิศกร<ref>ราชกิจจานุเบกษา. [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2438/037/347.PDF ประวัติ [หม่อมเจ้าหญิงประไพ ในพระเจ้าบวรวงษเธอ กรมขุนธิเบศร์บวร, ขุนฉายาสาทิศกร (ทองดี) ช่างถ่ายรูป ในกรมพระแสงหอกดาบ.]] เล่ม ๑๒, ตอน ๓๗, วันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๓๘, หน้า ๓๔๗.</ref>
 
== อ้างอิง ==