ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พริก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
๋ํ
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ตารางจำแนกพันธุ์
| name = พริก (Chilli)
เส้น 52 ⟶ 51:
พริกยังมีสารสำคัญอีก 2 ชนิด ได้แก่ [[Capsaicin]] และ [[Oleoresin]]โดยเฉพาะสาร Capsaicin ที่ นำมาใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร และผลิตภัณฑ์รักษาโรค ในอเมริกามีผลิตภัณฑ์จำหน่ายในชื่อ Cayenne สำหรับฆ่าเชื้อแบคทีเรียในกระเพาะอาหาร
สาร Capsaicin ยังมีคุณสมบัติทำให้เกิดรสเผ็ด ลดความเจ็บปวดของ[[กล้ามเนื้อ]] หัวไหล่ แขน บั้นเอว และส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย และมีผลิตภัณฑ์จำหน่ายทั้งชนิดเป็นโลชั่นและ[[ครีม]] ( Thaxtra - P Capsaicin) แต่การใช้ในปริมาณที่มากเกินไป อาจมีผลกระทบต่ออาการหยุดชะงักการทำงานของกล้ามเนื้อได้เช่นกัน เพื่อความปลอดภัย USFDA ได้กำหนดให้ใช้สาร capsaicin ได้ ที่ความเข้มข้น 0.75 % สำหรับเป็นยารักษาโรค
 
== การค้าและอุตสาหกรรม ==
สีของพริกมีหลากหลาย เขียว แดง เหลือง ส้ม ม่วง และสีงาช้าง โดยเฉพาะเมื่อนำมาปลูกในเขตร้อนชื้นที่ได้รับแสงแดดตลอดวัน จะมีสี ( colorant) ที่สดใส ซึ่งสามารถนำมาใน[[อุตสาหกรรมอาหาร]] ทั้งการปรุงแต่งรสชาติ และสีสัน ( colouring spice ) ได้ตามความต้องการของผู้บริโภคหลากหลายผลิตภัณฑ์
 
มีแนวโน้มในอนาคตว่าการผสมสีในอาหารจะมาจากธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่ และพริกเป็นพืชอายุสั้น ที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ทั้ง บริโภคสดและแปรรูป หลายหลายชนิด ดังนั้นพริกจึงจัดได้เป็นพืชผัก ที่มีศักยภาพชนิดหนึ่ง
 
พฤติกรรมการบริโภคและความต้องการอาหาร ในชีวิตประจำวันของผู้คน ในปัจจุบันให้ความสนใจ ในอาหารทีมีคุณค่าและประโยชน์ต่อร่างกาย สะอาด ปลอดภัยจากสิ่งตกค้างทั้งหลาย โดยเฉพาะสารเคมี กระแสความเรียกร้องสินค้าและพืชชนิดที่มีคุณภาพมีเพิ่มมากขึ้น ในตลาดที่สำคัญ โดยเฉพาะในต่างประเทศ ได้ให้ความสำคัญมาตรฐานสินค้า การรับรองสินค้า การรับรองสินค้า การตรวจสอบแหล่งสินค้าที่มาของสินค้า ดังนั้น ในระบบการผลิตสินค้าเพื่อบริโภคจะต้องมุ่งเน้นผลิตภัณฑ์คุณภาพเริ่มตั้แต่แหล่งผลิตวัตถุดิบจนถึงมือ ผู้บริโภค ( From Farm to Table)
การผลิตพริกที่ดีจำเป็นจะต้องปรับระบบการผลิต ตั้งแต่การคัดเลือกที่เหมาะสมในท้องถิ่นต่าง ๆ เพื่อให้ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้น มีคุณภาพและคุณประโยชน์ ใช้วิธีการผลิตที่มีประสิทธิภาพ ลดการใช้สารเคมีในการควบคุมศัตรูพืชและลดต้นทุน มีการจัดการก่อนและหลังการเก็บเกี่ยว เพื่อให้ได้ผลผลิตที่คุณภาพ ลดความเสียหาย และได้รูปลักษณ์ที่ดี ตรงตามมาตรฐานทั้งตลาดภายใน และต่างประเทศ ทั้งเพื่อการบริโภคสดและแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์พริกชนิดต่าง ๆ เช่น พริกแห้ง พริกป่น พริกดอง ซ๊อสพริก น้ำพริก เครื่องแกง พริกน้ำจิ้มต่าง ๆ และผลิตภัณฑ์ยารักษาโรค
 
== สารเคมีในพริก ==
เส้น 92 ⟶ 82:
[[หมวดหมู่:วงศ์มะเขือ]]
[[หมวดหมู่:พริก]]
{{โครงพืช}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/พริก"