ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดิ อินโนเซ้นท์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 68:
หลังจากที่ได้สมาชิกใหม่เข้ามาครบแล้ว ก็เริ่มทำเทปชุดใหม่ขึ้นอีกชุดหนึ่ง ใช้ชื่อชุดว่า “อยู่หอ” ชุดนี้ประสบความสำเร็จอย่างงดงาม ทำให้“ดิ อินโนเซ้นท์” เป็นที่รู้จักของแฟนเพลงมากขึ้น ด้วยดนตรี [[ป็อปร็อก]] สมัยนิยม เพราะชาตรีมีส่วนอย่างมากในการทำดนตรีในชุดนี้ และแฟนเพลงได้เริ่มเห็นพัฒนาการฝีมือของสมาชิกวงในการเล่นดนตรีที่เริ่มหนักแน่นและซับซ้อนขึ้น
 
ต่อมาไม่นาน ปฏิพาณปฏิภาณ ได้ลาออกจากวงไป ทำให้วงกลายเป็นวงกีต้าร์ตัวเดียวไปในที่สุด ดิ อินโนเซ้นท์”ในขณะนั้นมีสมาชิกเหลืออยู่ 5 คน
 
จนกระทั่ง ต้นปี 2526 “ดิ อินโนเซ้นท์”ก็เริ่มทำเทปชุดใหม่ขึ้นอีกชุดหนึ่ง ใช้ชื่อชุดว่า “เพียงกระซิบ” ชุดนี้ใช้เวลาทั้งหมด 4 เดือนเต็ม ออกวางตลาดเมื่อวันที่ 29 เมษายน 2526 ปรากฏว่าได้รับการตอบรับจากแฟนเพลงอย่างท่วมท้น เพราะเป็นชุดที่ทำงานกันอย่างละเอียดพิถีพิถัน และพัฒนารูปแบบดนตรี รวมไปถึงลีลาการร้องเข้มข้นอีกมากจนเห็นได้ชัด หลังจากการทัวร์คอนเสิร์ตผลงานชุดนี้ เกรียงศักดิ์ได้ลาออกจากวงไป เพื่อเข้าร่วมเป็นมือกลองให้กับวง "อินทนิล" แทนที่[[ทวี ศรีประดิษฐ์]] ที่ลาออกจากวงและไปทำในส่วนเบื้องหลังการทำเพลงให้วงของตัวเองแทน และสมาชิกบางส่วนของ"อินทนิล" กลายเป็นวง[[เรนโบว์ (วงดนตรีไทย)|เรนโบว์]] ในเวลาต่อมา
บรรทัด 76:
ปี 2526-2528 น่าจะเป็นช่วงยุคทองของวง ที่ยังมีการทำเพลงให้ห้องอัดเสียงอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง ภายหลังจากมีสมาชิกใหม่พร้อมหน้ากัน นั่นก็คือ[[ไชยรัตน์ ปฏิมาปกรณ์]]-คีย์บอร์ด เพราะทางวงต้องการมือคีย์บอร์ดอีกคนด้วย และ[[เกียรติศักดิ์ ยันตะระประกรณ์]]-กลอง เข้ามาเป็นสมาชิกวงแทนตำแหน่งที่เกรียงศักดิ์ เพราะทางวงเห็นฝีมือในการเล่นกลองไฟฟ้า เล่นเพอร์คัสชั่น และที่สำคัญคือการเล่นดนตรีในห้องบันทึกเสียงได้อย่างดีเยี่ยม
 
อัลบั้มในลำดับถัดมา คือ อัลบั้ม "รักคืออะไร" (ปี 2527) และตามมาด้วยอัลบั้ม "โลกใบเก่า" (ปี 2528) ทั้งสองอัลบั้ม มีเพลงฮิตติดหูคนฟัง อย่างเช่น รักคืออะไร,สักวัน,ทางหนึ่งซึ่งหวัง,เพียงครึ่งใจ, หนุ่มค้างปี ฯลฯ ซึ่งในเวลานั้น ถือเป็นยุคทองของวงดิอินโนเซ้นท์ ที่มีเพลงติดตลาดอย่างต่อเนื่อง ในช่วงเวลาเดียวกันนี้เองที่นักวิจารณ์เพลงในเมืองไทย เริ่มมองทางวงในแง่ให้การยอมรับในฝีมือชั้นเชิงทางดนตรีและเนื้อหา อย่างดีมากขึ้น ยกย่อง ดิ อินโนเซ้นท์ ในการทำดนตรีที่มีพัฒนาการมากกว่าวงสตริง หรือ วงเด็กวัยรุ่นในยุคเดียวกัน โดยเฉพาะการทำเพลง-เล่นดนตรี การแสดงบนเวทีและการบันทึกเสียงซึ่งพวกเขาทำเองทั้งหมด
ซึ่งในเวลานั้น ถือเป็นยุคทองของวงดิอินโนเซ้นท์ ที่มีเพลงติดตลาดอย่างต่อเนื่อง ในช่วงเวลาเดียวกันนี้เองที่นักวิจารณ์เพลงในเมืองไทย เริ่มมองทางวงในแง่ให้การยอมรับในฝีมือชั้นเชิงทางดนตรีและเนื้อหา อย่างดีมากขึ้น ยกย่อง ดิ อินโนเซ้นท์ ในการทำดนตรีที่มีพัฒนาการมากกว่าวงสตริง หรือ วงเด็กวัยรุ่นในยุคเดียวกัน โดยเฉพาะการทำเพลง-เล่นดนตรี การแสดงบนเวทีและการบันทึกเสียงซึ่งพวกเขาทำเองทั้งหมด
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อัลบั้ม "โลกใบเก่า" ซึ่งเคยได้รับการวิจารณ์ที่ดีจาก [[ขุนทอง อสุนี ณ อยุธยา]] คอลัมน์นิสประจำนิตยสาร "Quiet Storm" นิตยสารทางดนตรีชื่อดังในยุคนั้น
 
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อัลบั้ม "โลกใบเก่า" ซึ่งเคยได้รับการวิจารณ์ที่ดีจาก [[ขุนทอง อสุนี ณ อยุธยา]] คอลัมน์นิสนิสต์ประจำนิตยสาร "Quiet Storm" นิตยสารทางดนตรีชื่อดังในยุคนั้น
=== ครั้งนี้...ของพี่กับน้อง (2529) ===
 
=== ครั้งนี้...ของพี่กับน้อง (2529) ===
หลังจากนั้นในปี 2529 เกียรติศักดิ์ และ ไชยรัตน์ ได้ลาออกไป ทำให้เหลือสมาชิกหลักเพียง 4 คนเท่านั้น
หลังจากนั้นในปี 2529 เกียรติศักดิ์ และ ไชยรัตน์ ได้ลาออกไป ทำให้เหลือสมาชิกหลักเพียง 4 คนเท่านั้นการทำงานในห้องอัดเสียงของวงจึงปรับเปลี่ยนไปจากการใช้เสียงกลองไฟฟ้าอัดจริง มาเป็นเสียงจาก Drum Machine แทน โดยไม่รับสมาชิกใหม่เพิ่มเติม เมื่อเวลาแสดงสด จึงใช้มือกลองอาชีพเข้ามาร่วมงานเฉพาะกิจ
โดยไม่รับสมาชิกใหม่เพิ่มเติม เมื่อเวลาแสดงสด จึงใช้มือกลองอาชีพเข้ามาร่วมงานเฉพาะกิจ
 
และในปีนั้น วงดิอินโนเซ้นท์ ก็ได้ออกงานอัลบั้มใหม่ ชื่อ "ครั้งนี้ของพี่กับน้อง" (ปี 2529) มีเพลงฮิต ติดหูมาจนถึงปัจจุบันหลายเพลง ซึ่งถือว่าประสบความสำเร็จค่อนข้างดี เช่นเพลง ฝันและใฝ่, ฝากรัก, ดาราทีวี และ มือที่สาม โดยเฉพาะเพลงมือที่สาม เป็นที่ฮือฮากันมากในหมู่คนรักดนตรี เนื่องจากเป็นเพลงที่เน้นเนื้อหาดนตรี การแจมดนตรีกันของสมาชิกในวง การ improvise ด้นเนื้อสดขณะการบันทึกเสียง ซึ่งค่อนข้างแตกต่างไปจากสไตล์เพลงของวงที่ผ่านมา
เส้น 90 ⟶ 87:
ในชุดนี่เองที่วงได้เชิญ วรสิทธิ์ ชีพสาธิต เข้ามาเป็นนักร้องรับเชิญและร้องเสียงคอรัสในหลายๆเพลง โดยเฉพาะเพลง เพลงฝากรัก ซึ่งขับร้องโดยวรสิทธิ์ ได้รับความนิยมอย่างมาก
 
จึงทำให้เพลงนี้กลายเป็นเพลงประจำตัวของวรสิทธิ์ไปในเวลาต่อมา นอกเหนือจากนั้น การเติบโตทางฝีมือของสมาชิกแต่ละคนก็มีมากขึ้นตามเวลา ทำให้หลายคนเริ่มได้รับเชิญไปร่วมงานดนตรีกับงานอื่นๆมากขึ้น
นอกเหนือจากนั้น การเติบโตทางฝีมือของสมาชิกแต่ละคนก็มีมากขึ้นตามเวลา ทำให้หลายคนเริ่มได้รับเชิญไปร่วมงานดนตรีกับงานอื่นๆมากขึ้น
 
ภายหลังจากช่วงโปรโมท อัลบั้ม "ครั้งนี้ของพี่กับน้อง" เสร็จสิ้นลงในปลายปี 2529 “ดิ อินโนเซ้นท์”ก็เงียบหายไป เพราะทุกคนต่างมีภารกิจมากมายจนไม่มีเวลาทำเพลงของตนเอง แต่พวกเขาก็ยังคงติดต่อและคิดทำเพลงที่มีแบบฉบับของ“ดิ อินโนเซ้นท์”อีกครั้ง
“ดิ อินโนเซ้นท์”ก็เงียบหายไป เพราะทุกคนต่างมีภารกิจมากมายจนไม่มีเวลาทำเพลงของตนเอง แต่พวกเขาก็ยังคงติดต่อและคิดทำเพลงที่มีแบบฉบับของ“ดิ อินโนเซ้นท์”อีกครั้ง
 
=== 10 นาฬิกา (2532) ===
 
ตลอดระยะเวลา 2 ปีที่พวกเขาหายไป “ดิ อินโนเซ้นท์”ทุกคนต่างสั่งสมประสบการณ์ดนตรีมากขึ้นเช่นการไปร่วมงานกับ [[เรวัต พุทธินันทน์]] และ [[ดนุพล แก้วกาญจน์]] รวมไปถึงการไปทำเพลงที่บริษัท[[จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่|แกรมมี่ เอนเตอร์เทนเมนท์]] ของชาตรี การเรียบเรียงดนตรีและเล่นดนตรีในห้องบันทึกเสียงของพีรสันติ เสนีย์ไปเล่นดนตรีแบ็คอัพให้กับศิลปินต่างๆ เช่น [[เฉลียง (วงดนตรี)|เฉลียง]] เป็นต้น
 
เส้น 104 ⟶ 98:
“ดิ อินโนเซ้นท์” ในชุดนี้ จึงมีสมาชิกเพียง 4 คนเช่นเดิม โดยมี [[โรเบิร์ต ดิล่า]]-กลอง เป็นสมาชิกสมทบที่รับเชิญมาเล่นกลองในช่วงทัวร์คอนเสิร์ต
 
อัลบั้ม 10 นาฬิกา ได้รับการตอบรับอย่างดีมากในแง่ของผลงานดนตรีที่มีภาพ นักวิจาร์ณวิจารณ์เพลงตามนิตยสารเพลงต่างๆ ต่างยกย่องว่า อัลบั้มชุดนี้ทำให้เปลี่ยนภาพลักษณ์ของวงดนตรีนักเรียนขวัญใจวัยรุ่น มาเป็นวงดนตรีร็อกที่เน้นเนื้อหาทางดนตรีอย่างเต็มตัว
 
=== ยุติวง-ผลงานของสมาชิกหลังจากนั้น ===
 
วงดิอินโนเซ้นท์ มีการออกทัวร์คอนเสิร์ตหลายที่มากกว่าชุดใดๆ ที่ทำมาของทางวง เพราะผลจากความนิยมของอัลบั้ม 10 นาฬิกา จนเมื่อผ่านช่วงเวลานั้นไป สมาชิกหลักของวงแต่ละคน ก็เริ่มกลับมาทำงานที่ตนเองมีภาระอยู่
 
ชาตรี คงสุวรรณ ทำงานห้องอัดเสียง บันทึกเสียงและควบคุมการผลิตเพลงให้กับศิลปินในสังกัดแกรมมี่ มากมาย ทั้งยังดำรงตำแหน่งเจ้าของค่ายเพลง "อาร์พีจี" ในเครือแกรมมี่
ก่อนที่ต่อมาจะลาออกหันมาทำค่ายเพลง และ โปรดักชั่นเฮ้าส์เอง ในชื่อว่า "คราฟแมน เรคคอร์ด" และ "มิสเตอร์ มิวสิก"
โดยยังคงรับหน้าที่แต่งเพลง นักดนตรีในห้องอัดเสียง โปรดิวเซอร์ Music Director ให้กับ รายการ Reality Show ชื่อ Academy Fantasia
 
เมื่อปลายปี 2550 ชาตรีได้ออกอัลบั้มเดี่ยวชุดแรกในชีวิต ชื่ออัลบั้มว่า "Into The Light" ซึ่งได้รับรางวัลอัลบั้มยอดเยี่ยมจาก สีสันอะวอร์ด ในปี 2552 นี้
 
พีรสันติ จวบสมัย เป็นนักแต่งเพลงอยู่เบื้องหลังงานของศิลปินต่างๆ รวมไปถึงการทำเพลงโฆษณาและเพลงประกอบภาพยนตร์ ออกอัลบั้ม Togetther ในฐานะโปวดิวเซอร์และเพลงคนแต่งเพลงทั้งอัลบั้ม โดยมีนักร้องรับเชิญมากมาย เช่นปั่น(รักเธอทุกวัน), โรสแมรี่(ใจเป็นของเธอ), ฟอร์ด(ลืม),วงพองพอง(รูปเก่าๆ) และได้ สายชล ระดมกิจ มาขับร้องในเพลง ดึกก็กลับ
เส้น 122 ⟶ 115:
เสนีย์ ฉัตรวิชัย ก็หันไปทำธุรกิจส่วนตัว และยังคงเล่นดนตรีร้องเพลงบ้างตามโอกาสสมควร
 
สิทธิศักดิ์ กิจเต่ง ภายหลังจบการศึกษาในจังหวัดราชบุรีแล้ว จึงเดินทางเข้ามากรุงเทพฯ และฟอร์มวงดนตรีใหม่ชื่อว่า "ซัคเซส" โดยออกผลงานชุดแรกและชุดเดียวชื่อเดียวกันกับชื่อวง ภายใต้สังกัดนิธิทัศน์ มีเพลงฮิตอย่าง "แรงรัก", "ฤทธิ์รัก", "ใครหนอใคร" และ "รักมั่นคง" ซึ่งต่อมาในเพลงหลังนี้ วง "เพื่อน" ได้นำมาขับร้องใหม่และอยู่ในอัลบั้ม "แด่ที่รัก"
 
ส่วนเกียรติศักดิ์ ยันตะระประกรณ์ ยังคงเล่นดนตรีกลางคืน เล่นดนตรีแบ็คอัพศิลปินทั้งในห้องอัดและคอนเสิร์ตจนถึงปัจจุบัน อีกทั้งยังทำงานเป็นเจ้าหน้าที่ สำนักงานบรรเทาทุกข์ฯ สภากาชาดไทย
 
ส่วนเกียรติศักดิ์ ยันตะระประกรณ์ ยังคงเล่นดนตรีกลางคืน เล่นดนตรีแบ็คอัพศิลปินทั้งในห้องอัดและคอนเสิร์ตจนถึงปัจจุบัน อีกทั้งยังทำงานเป็นเจ้าหน้าที่ สำนักงานบรรเทาทุกข์ฯ สภากาชาดไทย
.
ถือได้ว่ากิจกรรมที่ทำร่วมกันในนามวง ดิ อินโนเซ้นท์ จึงหยุดลงตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา เป็นเวลา 20 ปี
 
=== การรียูเนี่ยน - 2552 ===
 
แม้ทางวงจะยุติบทบาทในการเป็นคนเบื้องหน้าไปแล้วก็ตาม แต่แฟนเพลงก็ยังรอคอยการกลับมารวมตัวกันใหม่ของ ดิ อินโนเซ้นท์ อยู่เสมอ
และถือเป็นวงดนตรีไทย ที่ทุกคนยังคงกล่าวถึงทั้งในแง่ฝีมือ ความไพเราะของบทเพลง แต่ก็ไม่ได้เกิดขึ้นอย่างเป็นจริงเป็นจังสักครั้งในเวลาที่ผ่านมา
เส้น 144 ⟶ 136:
สมาชิกวง : พีรสันติ จวบสมัย, สายชล ระดมกิจ, สิทธิศักดิ์ กิจเต่ง
 
'''2. บางประกงบางปะกง (พ.ศ. 2524)'''
 
ประกอบด้วยเพลง : บางประกงบางปะกง, เสน่ห์บ้านนาเขลียง, ปลาตะเพียน, ฝัน... รักสุดท้ายคือฝัน, โลกวุ่น, วันเปย์เดย์, อาณาจักรราม, ความฝันแห่งชีวิต, น้ำใจพ่อ, สู่เหย้า, พลิกล็อก, เมา
 
สมาชิกวง : พีรสันติ จวบสมัย, สายชล ระดมกิจ, สิทธิศักดิ์ กิจเต่ง