ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิกิริยาเคมี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
555+
555
บรรทัด 1:
{{issues|จัดรูปแบบ=yes|ต้องการอ้างอิง=yes|=yes}}
'''ปฏิกิริยาเคมี''' ({{lang-en|Chemical reaction}}) คือกระบวนการที่เกิดจากการที่[[สารเคมี]]เกิดการเปลี่ยนแปลงแล้วส่งผลให้เกิดสารใหม่ขึ้นมาซึ่งมีคุณสมบัติเปลี่ยนไปจากเดิม เขียนอะไรก็ได้

โดยมีสารเริ่มต้นปฏิกิริยาเรียกว่า "[[สารตั้งต้น]]" (reactant) ซึ่งจะต้องมีสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมาเกิดปฏิกิริยากัน และทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใน[[คุณสมบัติทางเคมี]] ซึ่งก่อตัวขึ้นมาเป็นสารใหม่ที่เรียกว่า "[[ผลิตภัณฑ์ (เคมี)|ผลิตภัณฑ์]]" (product) ในที่สุด สารผลิตภัณฑ์บางตัวอาจมีคุณสมบัติทางเคมีที่ต่างจากสารตั้งต้นเพียงเล็กน้อย แต่ในขณะเดียวกันสารผลิตภัณฑ์บางตัวอาจจะแตกต่างจากสารตั้งต้นของมันโดยสิ้นเชิง...
 
แต่เดิมแล้ว คำจำกัดความของปฏิกิริยาเคมีจะเจาะจงไปเฉพาะที่การเคลื่อนที่ของ[[ประจุอิเล็กตรอน]] ซึ่งก่อให้เกิดการสร้างและสลายของ[[พันธะเคมี]]เท่านั้น แม้ว่าแนวคิดทั่วไปของปฏิกิริยาเคมี โดยเฉพาะในเรื่องของ[[สมการเคมี]] จะรวมไปถึง[[การเปลี่ยนสภาพ]]ของ[[อนุภาค]][[ธาตุ]] (เป็นที่รู้จักกันในนามของ[[ไดอะแกรมฟายน์แมน]]) และยังรวมไปถึง[[ปฏิกิริยานิวเคลียร์]]อีกด้วย แต่ถ้ายึดตามคำจำกัดความเดิมของปฏิกิริยาเคมี จะมีปฏิกิริยาเพียง 2 ชนิดคือ[[ปฏิกิริยารีดอกซ์]] และ[[ปฏิกิริยากรด-เบส]] เท่านั้น โดยปฏิกิริยารีดอกซ์นั้นเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของประจุอิเล็กตรอนเดี่ยว และปฏิกิริยากรด-เบส เกี่ยวกับคู่อิเล็กตรอน