ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การทางพิเศษแห่งประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 52:
| หัวหน้า1_ชื่อ = พลเอก[[วิวรรธน์ สุชาติ]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/E/059/25.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒ ตอน ๕๙ ง พิเศษ หน้า ๒๕ ๑๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ </ref>
| หัวหน้า1_ตำแหน่ง = ประธานกรรมการ
| หัวหน้า2_ชื่อ = สุทธิศักดิ์ณรงค์ วรรธนวินิจเขียดเดช
| หัวหน้า2_ตำแหน่ง = รักษาการผู้ว่าการ
| หัวหน้า3_ชื่อ = อุรวดี ชูศรี
| หัวหน้า3_ตำแหน่ง = รองผู้ว่าการ
บรรทัด 62:
| หัวหน้า6_ชื่อ = สุชาติ ชลศักดิ์พิพัฒน์
| หัวหน้า6_ตำแหน่ง = รองผู้ว่าการ
| หัวหน้า7_ชื่อ = สุทธิศักดิ์ วรรธนวินิจ
| หัวหน้า7_ตำแหน่ง = รองผู้ว่าการ
| หัวหน้า8_ชื่อ =
บรรทัด 108:
ต่อมาในปี 2550 คณะรัฐมนตรีและการทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้เสนอร่างพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทยเข้าสู่[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2549|สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]] ซึ่งได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 8 มกราคม 2551 โดยสาระสำคัญของพระราชบัญญัติฉบับนี้คือให้ยกเลิกประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 290 ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน 2515 และ '''พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 290 ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 พ.ศ. 2530''' รวมถึงการแก้ไขวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งซึ่งไม่เข้ากับยุคสมัย
 
ในปี [[พ.ศ. 2560]] องค์กรนี้เผชิญความขัดแย้งในองค์กรอย่างหนัก<ref>[https://www.thairath.co.th/content/988067จบ ‘มหากาพย์ค่าโง่ทางด่วน’ ศาลฎีกาชี้กทพ.ชนะคดี ไม่ต้องจ่าย 9.6พันล้าน]</ref>เนื่องจากมีคดีความและข้อพิพาทจำนวนมาก<ref>[https://thaipublica.org/2016/07/disputes-exat/เบื้องหลังเจรจาชดเชยค่าเสียหายข้อพิพาทขึ้นค่าทางด่วน 8,000 ล้าน – เผยเงินเดือนจนท.เก็บเงินเฉลี่ย 50,000 บาท/คน/เดือน]</ref> จนกระทั่งมีคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 21/2560 ย้าย นายณรงค์ เขียดเดช ในที่สุด<ref>[http://www.manager.co.th/Business/ViewNews.aspx?NewsID=9600000069590 นายกฯ เซ็นโยก “ผู้ว่าฯ กทพ.” ยุติปมขัดแย้งบอร์ด]</ref>
 
== สายทางพิเศษ ==